Page 348 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 348

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                                     7
            ทําการไกล่เกลี่ยก่อนมิฉะนั้นถือว่าเป็นกระบวนพิจารณาที่ไม่ชอบ  หลังจากนั้นต้องเดินทางมา
                                                                         ั
               ื
            เพ่อนัดพิจารณาสืบพยานอีกหลายนัด ทําให้ต้องเดินทางมาศาลหลายคร้ง นอกจากเสียค่าเดินทาง
                                                 ้
                                                        ี
                                                 ั
                                                                             ํ
                         ี
                                       ื
            แล้วยังต้องเสยค่าอาหาร หรอในบางครงไม่มีเท่ยวรถเดินทางกลับภูมิลาเนา ลูกจ้างก็ต้อง
            เสียค่าที่พักค้างคืน และยังไม่นับรวมที่ต้องลาหยุดกับนายจ้างใหม่ หากเป็นลูกจ้างรายวันย่อม
                                                                          ิ
            ทําให้ลูกจ้างขาดรายได้ในการดํารงชีวิต หรือถ้าเป็นลูกจ้างทดลองงานย่งไม่สามารถลางานมาได้
                                      ี
            ด้วยเหตุนี้ ลูกจ้างจึงเลือกท่จะไม่มาศาลและยอมปล่อยให้คดีขาดนัดต้องเป็นฝ่ายแพ้คดีไป
            ซึ่งอาจต้องชดใช้ค่าเสียหายให้แก่นายจ้างทั้งที่ตนไม่มีโอกาสต่อสู้คดี 8
                    เพราะฉะน้น การแปลความว่าสถานท่ทําสัญญาจ้างแรงงานเป็นสถานท่ท่มูลคดีเกิด
                                                                                    ี
                                                                                      ี
                             ั
                                                      ี
                                      ี
                   ี
            ในคดีท่มีข้อเท็จจริงลักษณะน้จึงทําให้เกิดความไม่เป็นธรรม เพราะลูกจ้างถูกกีดกันจากการเข้าถึง
                                                      ื
            กระบวนการยุติธรรม (Access to Justice) เน่องจากสถานะทางการเงิน อันเป็นการกระทบ
            กับหลักนิติธรรมอย่างมีนัยสําคัญ  การตีความกฎหมายแล้วก่อให้เกิดผลกลายเป็นการขัดขวาง
                                         9
            หลักนิติธรรมเป็นส่งทควรหลีกเลยงอย่างย่งสําหรับนักกฎหมาย ซึ่งหากตีความตามตัวบทมาตรา 33
                                       ี
                              ี
                                       ่
                            ิ
                                                ิ
                              ่
              ี
                            ี
                                             ี
                                              ี
            ท่ให้ถือว่าสถานท่ทํางานเป็นสถานท่ท่มูลคดีเกิด แม้ภาระจะตกไปอยู่แก่ฝ่ายนายจ้าง ทําให้
            นายจ้างมีค่าใช้จ่ายมากขึ้น แต่ก็ยังตั้งอยู่ภายในขอบสมมติฐานของกฎหมายแรงงานว่านายจ้าง
            มีอํานาจและฐานะทางเศรษฐกิจดีกว่าลูกจ้าง การแปลความตามตัวบทมาตรา 33 โดยตรง จึง
            มความชอบธรรมตามเจตนารมณ์ในการร่างกฎหมายและให้ความเป็นธรรมมากกว่า ในขณะ
              ี
                                                ่
                                                ี
            เดียวกัน ในกรณท่ลูกจ้างตองย้ายสถานททํางานไปยังทอ่น ไม่สะดวกท่จะฟ้องยังสถานท่ทางาน
                                   ้
                                                                         ี
                                                             ื
                                                                                          ํ
                                                                                        ี
                                                            ี
                           ี
                            ี
                                                            ่
            เดิม ก็สามารถขออนุญาตฟ้องคดีที่ที่ตนมีภูมิลําเนาอยู่ได้ตามมาตรา 33 วรรคหนึ่ง หรืออาจขอ
                                            ี
                                                                                          ิ
                                                                              ึ
                                          ื
            อนุญาตโอนคดีไปยังศาลแรงงานอ่นท่มีเขตอํานาจตามมาตรา 33 วรรคสาม ซ่งมีการแก้ไขเพ่มเติม
                                  ั
            โดยพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับท่ 3) พ.ศ. 2558 ได้
                                                                                             10
                                                                            ี
                      �
                                     ี
                    7   คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 6630/2542 คดีแรงงานเป็นคดีมีลักษณะพิเศษอันควรระงับลงได้ด้วยความเข้าใจอันด  ี
            ต่อกันดังท่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 38 วรรคหน่ง
                    ี
                                          ั
                                                                                              ึ
            เมื่อไม่ปรากฏว่าศาลแรงงานได้ไกล่เกลี่ยให้โจทก์จําเลยได้ตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความกัน ศาลฎีกาจึงให้ศาลแรงงาน
                                          ี
            ดําเนนกระบวนพิจารณาใหม่ต้งแต่การไกล่เกล่ยโจทก์จําเลยตามมาตรา 38 เป็นต้นไปแล้วมีคําส่งหรือคําพิพากษาใหม่ตามรูปคด ี
                                                                          ั
                ิ
                                ั
                    8   ในทางปฏิบัติ บริษัทขนาดใหญ่จะมีการซื้อประกันความซื่อสัตย์ของลูกจ้าง (Fidelity Guarantee Insurance Policy)
            เมื่อนายจ้างชนะคดีก็สามารถเรียกจากบริษัทประกันภัยได้โดยไม่ต้องไปบังคับเอากับลูกจ้างอีก
                    9   “ความสามารถในการเข้าถึงความยุติธรรมเป็นหลักพ้นฐานของหลักนิติธรรม หากปราศจากความสามารถในการ
                                                        ื
            เข้าถึงความยุติธรรมเสียแล้ว สิทธิที่จะเรียกร้องซึ่งความเป็นธรรม ...ย่อมไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย” ที่มา United Nation, Access
            to Justice, available at https://www.un.org/ruleoflaw/thematic-areas/access-to-justice-and-rule-of-law-institutions/access-
            to-justice/ (Last Visited 11 February 2020).
                                                        ี
                                                ี
                    10   แต่ผู้เขียนเห็นว่า การจะโอนไปยังศาลท่ไม่มีความเก่ยวพันกับมูลคดีเสียเลย หรือไม่ใช่ศาลท่ลูกจ้างมีภูมิลําเนา
                                                                                   ี
            ก็ไม่ควรอนุญาตให้โอนคดี เว้นแต่ มีเหตุผลและความจําเป็นที่เพียงพอ ซึ่งในทางปฏิบัติก็มีการโอนคดีตามมาตรา 33 วรรคสาม
            นี้อยู่บ้าง
            346
   343   344   345   346   347   348   349   350   351   352   353