Page 345 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 345

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                     ั
                                                                   ี
                    ดงนน ลาดบการใช้กฎหมายวธพจารณาความในคดแรงงานจงสามารถเรยงลําดบ
                                                                                             ั
                                                                                       ี
                                                                            ึ
                                                  ิ
                                                 ี
                                               ิ
                              ั
                       ้
                       ั
                            ํ
            การใช้ได้ ดังนี้
                    1. พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522
                    2. ข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556
            ซึ่งออกโดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธี
            พิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522
                    3. หากไม่มีกําหนดไว้ในข้อ 1. และ 2. จึงค่อยอาศัยบทบัญญัติตามประมวลกฎหมาย
            วิธีพิจารณาความแพ่ง
                    ในการปฏิบัติงานของผู้เขียนมักพบเจอข้อโต้แย้งในเร่องลําดับการปรับใช้กฎหมาย
                                                                    ื
                                   ึ
            วิธีพิจารณาความกรณีหน่งเป็นประจํา คือ ปัญหาว่า ถ้าข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการ
            ดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 ขัดแย้งกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
            ความแพ่ง ต้องใช้กฎหมายใดเป็นอันดับแรก ฝ่ายที่เห็นว่าต้องใช้ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

            ความแพ่งก่อนมักให้เหตุผลว่า ข้อกําหนดศาลแรงงานเป็นกฎหมายลําดับรอง ย่อมมีลําดับศักดิ์
                                    ิ
                                     ี
                                       ิ
                                                              ิ
                                                         ึ
                                                         ่
              ํ
              ่
            ตากว่าประมวลกฎหมายวธพจารณาความแพ่ง ซงถ้าพจารณาแล้ว กฎหมายในหลายกรณ                 ี
            ต้องการความรวดเร็วและยืดหยุ่น หากให้กฎหมายทุกฉบับต้องออกเป็นพระราชบัญญัติจึง
                                                                                       ึ
            ไม่เหมาะสม การบัญญัติกฎหมายจึงมักมีบทมาตราให้ออกเป็นกฎหมายลําดับรองซ่งสะดวก
            ในการปรับใช้และปรับปรุงแก้ไขให้เข้ากับพลวัตทางสังคม กล่าวคือเป็นนิติวิธีทางนิติบัญญัต ิ
            ประเภทหน่ง เป็นการรับมอบอํานาจมาจากฝ่ายนิติบัญญัติให้มาออกกฎหมายต่อไป (Delegated
                      ึ
                                                                                 ั
                                                                                              4
                                                                                   ู
                                                                           ่
                                                                           ี
                                                     ั
                                                                             ี
                                                    ี
            Legislation) ซงกฎหมายลําดบรองนบางกรณยงสามารถแก้ไขกฎหมายทมลําดบสงกว่าได้ด้วย
                         ึ
                         ่
                                            ี
                                            ้
                                      ั
            ประกอบกับเม่อศึกษาในเชิงประวัติศาสตร์กฎหมายของประเทศไทยเองก็ปรากฏว่ามีการออก
                         ื
                                                                       ั
            กฎหมายลําดับรองมาต้งแต่สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์แล้ว  ดังน้น ในความเห็นของผู้เขียน
                                 ั
                                                                 5
            แนวความคิดของฝ่ายน้จึงค่อนข้างล้าสมัยและไม่ทันต่อนวัตกรรมในการบัญญัติกฎหมาย ดังน้น
                                                                                             ั
                                ี
            เมื่อข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 ออก
            โดยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา 29 แห่งพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา
                                                                     ั
            คดีแรงงาน พ.ศ. 2522 หากกรณีใดมีบัญญัติไว้แล้วในข้อกําหนดศาลแรงงาน ก็ต้องถือตาม
                       ี
            ระยะเวลาตามท่กําหนดไว้และจะต้องมีพฤติการณ์พิเศษหรือจะต้องมีเหตุสุดวิสัยอันไม่อาจก้าวล่วงได้เช่นท่บัญญัติไว้ในประมวล
                                                                                 ี
            กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 23 ไม่
                    4   สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, คู่มือการร่างกฎหมาย “การร่างกฎหมายและแบบของกฎหมาย”, (ปรับปรุงครั้ง
            ที่ 1, 2550) น.92-105
                    5   เรื่องเดียวกัน, น.93
                                                                                             343
   340   341   342   343   344   345   346   347   348   349   350