Page 349 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 349
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
ึ
่
ิ
ู
่
็
ี
ู
ํ
ี
็
ี
ี
่
และจากประสบการณ์ของผ้เขยนกพบเหนคดจานวนหนงทลกจ้างขอใช้สทธิฟ้องคดีทศาลทตน
่
มีภูมิลําเนาอยู่เช่นกัน
ี
ื
ในขณะท่เม่อพิจารณาเทียบกับอีกกรณีหน่ง เช่น กรณีลูกจ้างเป็นลูกเรือของสายการบิน
ึ
ระหว่างประเทศ ทํางานเฉพาะบนเคร่องบิน ต้องเดินทางผ่านหลายจังหวัดภายในประเทศ
ื
ี
ื
หากจะแปลความว่าจังหวัดท่เคร่องบินเดินทางผ่านเป็นสถานท่ทํางานก็อาจไม่เหมาะสม
ี
ี
ั
ึ
เพราะนายจ้างลูกจ้างอาจกล่นแกล้งฟ้องร้องกันจังหวัดไกล ๆ หรือท่คู่ความอีกฝ่ายหน่งไม่สะดวก
ี
หรือหากลูกจ้างฟ้องคดีโดยไม่ปรากฏสถานท่ทํางานชัดเจนก็อาจทําให้ไม่สามารถฟ้องคดีต่อศาล
ที่ตนประสงค์ได้ กรณีนี้ก็อาจเลือกฟ้องกันที่ภูมิลําเนาตามมาตรา 33 หรือน่าจะอนุโลมใช้มูลคดี
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งคือสถานที่ทําสัญญาจ้างก็ได้
ื
ี
�
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 13577/2557 แม้ตามสัญญาจ้างตกลงเร่องการใช้สิทธิทาง
ี
ศาลว่า หากเกดข้อพิพาทข้นจะต้องฟ้องต่อศาลในประเทศกาตาร์ แต่คดีน้โจทก์ฟ้องขอให้บังคับ
ิ
ึ
ื
ี
จําเลยใช้เงินจํานวนต่าง ๆ อันเน่องมาจากการท่จําเลยถูกเลิกจ้างโดยไม่ชอบ เป็นคดีพิพาท
ี
ี
ี
เก่ยวด้วยสิทธิหรือหน้าท่ตามสัญญาจ้างแรงงานหรือตามข้อตกลงเก่ยวกับสภาพการจ้าง ตาม
ั
พระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 มาตรา 8 (1) อยู่ใน
อํานาจพิจารณาพิพากษาของศาลแรงงาน จําเลยทําสัญญาจ้างโจทก์ท่สํานักงานของจําเลย
ี
ั
ึ
ื
แม้จะให้โจทก์ไปทํางานบนเคร่องบินของจําเลยซ่งมีเส้นทางการบินท้งในและต่างประเทศ ก็ย่อม
ึ
ี
ถือได้ว่าสํานักงานของจําเลยอันเป็นสถานท่ทําสัญญาจ้างซ่งเป็นต้นเหตุอันเป็นท่มาแห่งการ
ี
ิ
ี
ั
ู
ี
ํ
ึ
โต้แย้งสทธอนจะทาให้เกดอํานาจฟ้องเป็นสถานททมลคดเกดอกแห่งหนงด้วย เมอสานกงาน
่
่
ื
่
ั
ํ
ี
ิ
่
ิ
ี
ิ
ของจําเลยต้งอยู่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร โจทก์จึงมีอํานาจฟ้องคดีน้ตอ
ี
่
ั
ศาลแรงงานกลางได้ตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522
ั
มาตรา 33 หาจําต้องนําคดีไปฟ้องยังศาลแห่งประเทศกาตาร์แต่เพียงแห่งเดียวเท่านั้นไม่
ตามคําพิพากษาศาลฎีกาข้างต้น ศาลฎีกาวินิจฉัยว่า สถานที่ทําสัญญาจ้างเป็นสถานที่
ั
ี
ื
ี
ท่มูลคดีเกิด ซ่งผู้เขียนเห็นว่า เหตุท่คําพิพากษาศาลฎีกาตัดสินดังกล่าวน้น เน่องจากในคดีน ี ้
ึ
ี
ลูกจ้างเป็นโจทก์ฟ้องคดี ตามรูปคดีไม่ปรากฏสถานท่ทํางานชัดเจน จึงต้องอาศัยสถานท่ทํา
ี
ี
ี
สัญญาจ้างเป็นสถานท่ท่มูลคดีเกิดเช่นเดียวกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาปรับใช้
ื
ั
ี
มิฉะน้น ลูกจ้างก็จะไม่สามารถฟ้องคดีท่ศาลแรงงานดังกล่าวได้ เป็นการตีความเพ่อให้เกิด
ความเป็นธรรมแก่ลูกจ้างในคดีน้ แต่ด้วยความเคารพต่อคําพิพากษาศาลฎีกา ผู้เขียนเห็นว่า
ี
น่าจะถือว่าเป็นสถานท่ท่มูลคดีเกิดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 4 ประกอบ
ี
ี
พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 31 มากกว่า
347