Page 353 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 353

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                                                                 ี
                      ื
                    เม่อพิจารณาตามคําพิพากษาศาลฎีกาข้างต้นและท่จะกล่าวถึงต่อไป การจดประเด็น
            ข้อพิพาทมีผลทางกฎหมายแตกต่างจากการช้สองสถานหรือการกําหนดประเด็นข้อพิพาท
                                                      ี
                                                ื
                                             ี
                                          ั
                       ั
            ในคดีแพ่งท่วไปค่อนข้างมาก ท้งน้ เน่องจากตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและ
                                                                              ั
            วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 และข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณา
                                    ั
                                    ้
                                                                ิ
                                                                                  ็
                                       ุ่
                                                   ํ
            ในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 นน มงเน้นให้การดาเนินกระบวนพจารณาคดีแรงงานเปนไปโดยสะดวก
            รวดเร็ว ลดรูปแบบพิธีการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง ประกอบกับการดําเนิน
            คดีแรงงานตั้งอยู่บนพื้นฐานของระบบไต่สวนโดยศาล (Inquisitorial System)  ดังนั้น ในวันนัด
                                                                              15
                                   ี
            พิจารณาหากศาลไกล่เกล่ยแล้วคู่ความไม่สามารถตกลงกันได้ ศาลก็เพียงดําเนินการสอบถาม
            คู่ความเกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่คู่ความยกขึ้นเป็นข้ออ้าง ข้อเถียง และพยานหลักฐานที่ได้เสนอไว้
                                             ี
            ในบัญชีระบุพยาน  ข้อเท็จจริงใดท่คู่ความรับกันหรือถือว่ารับกันก็เป็นอันยุติไปตามน้น
                                                                                             ั
            ส่วนข้อเท็จจริงใดท่คู่ความฝ่ายหน่งยกข้นอ้าง แต่คู่ความฝ่ายอ่นไม่ยอมรับและเก่ยวเน่องโดยตรง
                             ี
                                         ึ
                                              ึ
                                                                                 ี
                                                                 ื
                                                                                     ื
            กับประเด็นข้อพิพาทตามคําคู่ความ ให้ศาลจดเป็นประเด็นข้อพิพาทและกําหนดให้คู่ความฝ่ายใด
                                                                       ี
            นําพยานหลักฐานมาสืบในประเด็นข้อใดก่อนหรือหลังก็ได้ ด้วยเหตุน้การ “จดประเด็นข้อพิพาท”
                                                               ี
            จึงไม่มีลักษณะเคร่งครัดเป็นรูปแบบพิธีการเหมือนการช้สองสถาน เป็นการดําเนินกระบวน
                                                               ี
            พิจารณาท่ศาลเพียงสอบถามคู่ความถึงข้อเท็จจริงในคดีท่อ้างมาในคําฟ้องคําให้การแล้วจดไว้
                      ี
                                     ี
               ื
                                                                 ั
            เพ่อใช้เป็นแนวทางในการท่จะดําเนินกระบวนพิจารณาในข้นต่อ ๆ ไป คือการให้คู่ความนํา
            พยานหลักฐานมาสืบให้ได้ความแจ้งชัดในข้อเท็จจริงแห่งคดีเท่าน้น ส่วนการวินิจฉัยคดีย่อมต้อง
                                                                    ั
                                                                                             ื
            เป็นไปตามข้ออ้างและข้อเถียงของคู่ความ  จึงอาจพอกล่าวได้ว่า การจดประเด็นเป็นไปเพ่อ
                                                 16
            ความสะดวกในการที่ศาลจะไต่สวนหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมเพื่อวินิจฉัยคดีเท่านั้น
                    15   คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 8242-8246/2549 การพิจารณาคดีแรงงานต้องบังคับตามพระราชบัญญัติจัดต้ง
                                                                                              ั
                                      ี
                       �
                                                                                ั
            ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ.2522 ซ่งการดําเนินคดีแรงงานแตกต่างจากการดําเนินคดีแพ่งท่วไป โดยการดําเนินคด  ี
                                             ึ
            ตามพระราชบัญญัตินี้ตั้งอยู่บนพื้นฐานของระบบไต่สวน ซึ่งให้อํานาจศาลในการค้นหาความจริงดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 45 ว่า
              ื
                                      ี
            เพ่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมในอันท่จะให้ได้ความแจ้งชัดในข้อเท็จจริงแห่งคดีให้ศาลแรงงานมีอํานาจเรียกพยานหลักฐานมา
            สืบได้เองตามที่เห็นสมควร ไม่มีบทบัญญัติให้ต้องสืบประกอบดังกล่าว ทั้งตามคําฟ้องและคําให้การปรากฏข้อเท็จจริงได้ความ
            แจ้งชัดพอวินิจฉัยได้แล้ว มิได้นําข้อเท็จจริงนอกสํานวนมาวินิจฉัยแต่อย่างใด
                    16   คาพพากษาศาลฎกาท 8233-8236/2547 เมอโจทก์ท้งส่กับจาเลยไม่อาจตกลงกน การทศาลแรงงานกลาง
                                                                                   ่
                                                                                   ี
                                                                             ั
                                                                ํ
                       �
                                      ี
                         ิ
                                      ่
                                   ี
                                                           ั
                                                             ี
                                                     ื
                                                     ่
            ได้กําหนดประเด็นข้อพิพาทและวันนัดสืบพยานตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 39 วรรคหนึ่ง ก็เพื่อที่ศาลแรงงานกลางจะได้ดําเนิน
            กระบวนพิจารณาต่อไปในอันที่จะให้ได้ความแจ้งชัดในข้อเท็จจริงแห่งคดีดังที่บัญญัติไว้ในมาตรา 45
                      คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 2966-2968/2548 การกําหนดประเด็นข้อพิพาทในคดีแรงงานเป็นเพียงเพ่อใช้เป็น
                                                                                         ื
                       �
                                      ี
            แนวทางในการดําเนินกระบวนพิจารณาเท่าน้น ส่วนการวินิจฉัยคดีย่อมต้องเป็นไปตามข้ออ้างและข้อเถียงของคู่ความ คดีน ี ้
                                          ั
            โจทก์ที่ 1 และที่ 3 บรรยายฟ้องและมีคําขอบังคับเรื่องเงินเพิ่มดังกล่าวมาด้วย จึงชอบที่ศาลแรงงานกลางจะต้องวินิจฉัยปัญหา
            เรื่องเงินเพิ่มด้วย จะไม่รับวินิจฉัยโดยอ้างว่ามิได้กําหนดเป็นประเด็นข้อพิพาทไว้ไม่ได้
                                                                                             351
   348   349   350   351   352   353   354   355   356   357   358