Page 355 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 355
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
5. การกําหนดประเด็นข้อพิพาทและหน้าท่นําสืบในคดีแรงงานไม่จําต้องอยู่ภายใต้
ี
ั
้
ิ
ั
ั
ั
ั
ิ
ั
ั
ิ
ิ
บงคบบทบญญตแห่งประมวลกฎหมายวธพจารณาความแพ่ง เนองจากพระราชบญญตจดตง
ั
่
ี
ื
ิ
ี
ั
ิ
ี
ึ
่
ศาลแรงงานและวธพจารณาคดแรงงาน พ.ศ. 2522 ซงเป็นกฎหมายเฉพาะได้บญญตไว้แล้ว
ิ
ั
ึ
ในมาตรา 39 วรรคหน่ง และการกําหนดให้คู่ความฝ่ายใดในคดีแรงงานนําพยานมาสืบก่อน
หรือหลังนั้นเป็นอํานาจและดุลพินิจของศาลแรงงานโดยเฉพาะ (ฎีกาที่ 2259/2540) โดยไม่ต้อง
คํานึงว่าฝ่ายนั้นจะมีภาระการพิสูจน์อย่างเช่นคดีแพ่งทั่วไป (ฎีกาที่ 9196-9215/2544)
6. การดําเนินกระบวนพิจารณากําหนดประเด็นข้อพิพาทและกําหนดหน้าท่นําสืบ
ี
เป็นการดําเนินการตามพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน
ั
ิ
ี
ึ
พ.ศ. 2522 มาตรา 39 ซ่งบัญญัตไว้โดยเฉพาะแล้ว ไม่ต้องนําการช้สองสถานตามประมวล
ื
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 183 มาใช้บังคับ เม่อไม่มีการช้สองสถานโจทก์ย่อม
ี
มีสิทธิยื่นคําร้องขอแก้ไขคําฟ้องก่อนวันนัดสืบพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน ได้ (ฎีกาที่ 10971/2555)
ี
จากท่กล่าวมาจึงเห็นได้ว่า การจดประเด็นข้อพิพาทในคดีแรงงาน มีผลทางกฎหมาย
แตกต่างจากการกําหนดประเด็นข้อพิพาทในคดีแพ่งทั่ว ๆ ไป กระบวนพิจารณาในคดีแรงงาน
ี
ี
จึงมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวมีหลักกฎหมายท่ต่างออกไปจากคดีแพ่งปกติ และนอกจากท่ได้กล่าวไว้
ี
เก่ยวกับผลทางกฎหมายของการจดประเด็นข้อพิพาทข้างต้นแล้ว ยังมีข้อแตกต่างระหว่าง
ี
ื
การจดประเด็นข้อพิพาทกับการช้สองสถานอ่น ๆ อีก แต่เน่องจากยังมีข้อโต้แย้งกันและ
ื
ยังไม่เป็นที่ยุติจึงเห็นควรยังไม่นํามากล่าวไว้ในบทความนี้
4. ข้อก�าหนดของศาลแรงงาน
ั
ิ
ิ
ตามมาตรา 29 แห่งพระราชบญญติจดต้งศาลแรงงานและวธีพจารณาคดีแรงงาน
ั
ั
ั
ู
ี
ิ
พ.ศ. 2522 อธบดผ้พิพากษาศาลแรงงานกลางมีอํานาจออกข้อกําหนดใด ๆ ใช้บังคับใน
ึ
ศาลแรงงานได้เม่อได้รับอนุมัติจากประธานศาลฎีกาแล้ว ซ่งแต่เดิมก็เคยมีการออกข้อกําหนด
ื
ศาลแรงงาน เช่น ข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน
ลงวันท่ 27 กุมภาพันธ์ 2523, ข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้แทนโจทก์ในการดําเนินคด ี
ี
ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2523, ข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาใน
ศาลแรงงาน (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2534, ข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการ
ี
ี
ดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน (ฉบับท่ 3) ลงวันท่ 8 กันยายน พ.ศ. 2543 และในปัจจุบัน
มีการออกข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556
ี
และยังคงมีผลใช้บังคับอยู่ โดยเป็นการกําหนดเก่ยวกับรายละเอียดในการดําเนินกระบวน
353