Page 344 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 344
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ั
การดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน พ.ศ. 2556 ท้งยังได้รับการตีความจากศาลฎีกา
ิ
ี
และศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษจนเร่มมีวิธีพิจารณาท่เป็นเอกเทศและมีความแตกต่างจาก
ี
ื
วิธีพิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งออกไปเร่อย ๆ บทความฉบับน้จึงได้
รวบรวมและศึกษาแนวทางการตีความของศาลดังกล่าว โดยคัดเลือกมาเฉพาะบางประเด็น
ี
ท่เห็นว่าน่าจะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานและในการวิเคราะห์ทําความเข้าใจถึงการดําเนิน
กระบวนพิจารณาคดีในศาลแรงงานเพื่อพัฒนากฎหมายในด้านนี้ต่อไป
1. ล�าดับการปรับใช้กฎหมายวิธีพิจารณาความในคดีแรงงาน
ปัญหานี้เม่อพิจารณาตามมาตรา 31 แห่งพระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและ
ื
ั
ึ
วิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 ซ่งบัญญัติว่า ให้นําบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธ ี
ี
พิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับแก่การดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลแรงงานเท่าท่ไม่ขัดหรือแย้ง
ั
ื
ี
กับบทแห่งพระราชบัญญัติน้โดยอนุโลม ดังน้น ถ้าในเร่องใดมีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัต ิ
ั
จัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 แล้ว ก็ไม่จําต้องนําบทบัญญัต ิ
ึ
้
ี
ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาใช้บังคับอีก ซ่งจะเห็นแนวทางการตีความลักษณะน
ี
ในคําพิพากษาศาลฎีกาหลายฉบับ เช่น ฎีกาท่ 2572/2541, 4715/2542, 10971/2555,
13146/2558 เป็นต้น 3
3 คาพพากษาศาลฎกาท 2572/2541 พระราชบญญตจดตงศาลแรงงานและวธพจารณาคดแรงงาน พ.ศ. 2522
ิ
ี
ั
ี
ั
ั
ิ
้
ั
่
ี
�
ิ
ี
ิ
มาตรา 45 วรรคสอง บัญญัติถึงวิธีการซักถามพยานไว้โดยเฉพาะแล้วว่าในการสืบพยาน คู่ความจะซักถามพยานได้ก็เฉพาะเม่อ
ื
ั
ได้รับอนุญาตจากศาลแรงงานแล้วเท่าน้น กรณีจึงไม่อาจนําบทบัญญัติว่าด้วยการสืบพยานตามบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 89, 116 (2) และมาตรา 117 มาใช้บังคับแก่การสืบพยานในคดีแรงงานในศาลแรงงานโดยอนุโลมได้
ี
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 4715/2542 พระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 บัญญัต ิ
�
ั
เร่องการจดประเด็นข้อพิพาทและการดําเนินกระบวนพิจารณาเพ่อให้เป็นไปโดยประหยัด สะดวก และรวดเร็ว ไว้เป็นการเฉพาะแล้ว
ื
ื
กรณีจึงไมอาจนาบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงมาใชบังคับแกการจดประเด็นขอพิพาทและการดาเนิน
่
่
่
ํ
้
ํ
้
กระบวนพิจารณาในศาลแรงงานได้
�
ี
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 10971/2555 ศาลแรงงานกลางดําเนินกระบวนพิจารณากําหนดประเด็นข้อพิพาทและ
กําหนดหน้าที่นําสืบพยานจําเลยไปตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 39 ซึ่ง
ิ
่
ี
้
ิ
่
่
ํ
้
้
บญญตไวโดยเฉพาะแลว ไมตองนาการชสองสถานตามประมวลกฎหมายวธพจารณาความแพง มาตรา 183 มาใชบงคบ เมอไมม ี
้
ั
ิ
ั
ั
ั
่
ื
ี
้
การชี้สองสถานโจทก์ย่อมมีสิทธิยื่นคําร้องขอแก้ไขคําฟ้องก่อนวันนัดสืบพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน ได้
�
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 13146/2558 พระราชบัญญัติจัดต้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. 2522
ี
ั
ิ
มาตรา 26 บัญญติเรองการขยายระยะเวลาไวเป็นการเฉพาะแล้ว จงไม่อาจนาประมวลกฎหมายวธีพจารณาความแพ่ง มาตรา 23
ิ
ํ
้
ึ
ั
่
ื
ึ
่
ั
ิ
ั
มาอนโลมใช้ตามมาตรา 31 แห่งพระราชบญญตจดตงศาลแรงงานและวธพจารณาคดแรงงาน พ.ศ. 2522 ได้ ซงมาตรา 26
ุ
ั
ั
ิ
ี
ี
้
ิ
บัญญัติว่า ระยะเวลาตามที่กําหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ศาลแรงงานได้กําหนด ศาลแรงงานมีอํานาจย่นหรือขยาย
ิ
ได้ตามความจําเป็นและเพ่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม หาได้กําหนดหลักเกณฑ์ว่าคู่ความต้องย่นคําร้องต่อศาลแรงงานก่อนส้น
ื
ื
342