Page 343 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 343
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
กฎหมายวิธีพิจารณาคดีแรงงาน : ข้อพิจารณาบางประการ
ตามแนวทางการตีความของศาลฎีกาและศาลอุทธรณ์คดีช�านัญพิเศษ
ธัชวุทธิ์ พุทธิสมบัติ*
ภัทรวรรณ ทรงกําพล**
สุนาฏ หาญเพียรพงศ์***
คดีแรงงานเป็นคดีท่เก่ยวข้องกับสังคมผู้ใช้แรงงาน ผลของคดีก่อให้เกิดผลกระทบเป็น
ี
ี
ั
วงกว้างท้งต่อการดําเนินธุรกิจของนายจ้างและการดํารงชีวิตของลูกจ้างซ่งถือเป็นประชาชน
ึ
กลุ่มใหญ่ของประเทศ การดําเนินคดีแรงงานจึงมีแนวคิดท่แตกต่างไปจากการดําเนินคดีแพ่งปกต ิ
ี
เพราะนอกจากต้องคํานึงถึงความยุติธรรมตามกฎหมาย (Legal Justice) ยังต้องคํานึงถึง
1
ความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice) ประกอบด้วยเสมอ กระบวนพิจารณาในศาลแรงงาน
จึงได้รับการออกแบบและมีแนวคิดท่แตกต่างไปจากกระบวนพิจารณาในศาลท่วไป ดังนั้น
2
ั
ี
่
ั
ื
ี
ุ
ึ
ื
ี
ิ
ั
การปรบใช้กฎหมายหรอการตความโดยใช้ความค้นเคยจากทเคยศกษาหรอปฏิบตงานในส่วน
ิ
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งจึงเป็นส่งท่ต้องกระทําด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจกระทบต่อ
ี
ความเป็นธรรมหรือสร้างความเสียหายต่อรูปคดีของตน
ั
้
ิ
ื
ิ
ี
ี
ั
เน่องจากพระราชบัญญตจัดตงศาลแรงงานและวิธพจารณาคดแรงงาน พ.ศ. 2522
มีการบังคับใช้มาเป็นระยะเวลาพอสมควร จนมีการออกข้อกําหนดศาลแรงงาน ว่าด้วย
* ผู้พิพากษาศาลช้นต้นประจํากองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ, น.บ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
ั
น.บ.ท., น.ม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, LL.M. George Washington University.
** ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจํากองผู้ช่วยผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ, น.บ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
น.บ.ท., บธ.ม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, LL.M. Kyushu University.
*** ผ้พิพากษาศาลชนต้นประจากองผู้ช่วยผู้พพากษาศาลฎีกา, น.บ. มหาวิทยาลยธรรมศาสตร์, น.บ.ท.,
ั
้
ั
ํ
ิ
ู
น.ม.มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, LL.M. Chicago - Kent college of law, Kyushu university.
ิ
1 สมพงศ์ เหมวิมล, มนต์ชัย ชนินทรลีลา และธัชวุทธ์ พุทธิสมบัติ, วิธีพิจารณาคดีแรงงานโดยสังเขป (Brief Overview
of Labour Procedure Law), บทบัณฑิตย์ (เล่มที่ 72 ตอน 1 ม.ค.-มีค. 2559), น. 24.
2 เช่น ตามพระราชบญญตจัดต้งศาลแรงงานและวธพจารณาคดแรงงาน พ.ศ. 2522 มาตรา 48 ทบญญตไว้ว่า
่
ั
ั
ิ
ิ
ั
ั
ิ
ี
ี
ั
ิ
ี
การพิจารณาคดีแรงงาน ให้ศาลแรงงานคํานึงถึงสภาพการทํางาน ภาวะค่าครองชีพ ความเดือดร้อนของลูกจ้าง ระดับของค่าจ้าง
ื
หรือสิทธิและประโยชน์อ่นใดของลูกจ้างท่ทํางานในกิจการประเภทเดียวกัน รวมท้งฐานะแห่งกิจการของนายจ้างตลอดจนสภาพ
ั
ี
ทางเศรษฐกิจและสังคมโดยทั่วไป ประกอบการพิจารณาเพื่อกําหนดให้เป็นธรรมแก่คู่ความทั้งสองฝ่ายด้วย
341