Page 338 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 338
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
บทสรุป
แนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation) เป็น
ี
ึ
หลักการหน่งในคดีแรงงาน เป็นแนวคิดทฤษฎีท่ได้รับการยอมรับในระบบกฎหมายคอมมอนลอว์
(common law) เพ่อให้เกิดความเป็นธรรมมากข้นในคดีท่พิพาทกันเก่ยวกับการเลิกจ้างลูกจ้าง
ื
ึ
ี
ี
้
่
ี
้
ั
ื
ื
้
ั
ิ
ู
ู
ิ
ี
ั
ํ
ิ
ทกระทําผด ทงนเนองจากในชวตการทางานของลกจ้างนน ลกจ้างอาจทําผดสญญาจ้าง หรอ
่
ี
ั
ี
ผิดข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน รวมถึงระเบียบ หรือคําส่งของนายจ้างได้ ท้งท่เจตนาและ
ั
ี
ื
ั
ไม่เจตนา แต่การประกอบธุรกิจ หรือกิจการของนายจ้างก็ยังคงต้องดําเนินต่อไป ดังน้น เพ่อเป็นการ
ึ
รักษาและดํารงไว้ซ่งสัมพันธภาพความเป็นนายจ้างลูกจ้างระหว่างกันไว้ เม่อนายจ้างมีพฤติการณ์
ื
ที่แสดงถึงการไม่ถือโทษ หรือแสดงถึงว่าเป็นการให้อภัยต่อความผิดนั้นของลูกจ้างแล้ว ทั้งโดย
ชัดแจ้งหรือโดยปริยาย (Express or Implied Behavior) โดยเฉพาะการที่นายจ้างยังคงให้ลูกจ้าง
ึ
ื
ทํางานต่อไปเสมือนไม่มีการกระทําผิดใดของลูกจ้างเกิดข้นเพ่อให้โอกาสลูกจ้างในการปรับปรุงตัว
ั
ี
หลักการน้คือนายจ้างจะนําเหตุแห่งความผิดน้นมาลงโทษลูกจ้าง หรือจะนําเหตุแห่งความผิดน้น
ั
ํ
มากล่าวโทษลูกจ้างอีกว่ากระทําผิดซาคําเตือนหาได้ไม่ เพราะถือว่านายจ้างได้ให้อภัยใน
้
ิ
ั
ั
ี
ั
้
ื
ื
ิ
ื
ั
้
ั
การกระทําผดนน หรอความผดตามหนงสอเตอนนนแล้ว สําหรบประเทศไทย แม้ยงไม่มการ
บัญญัติกฎหมายเก่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer
ี
Condonation) ไว้โดยเฉพาะเป็นลายลักษณ์อักษร แต่จากแนวคําวินิจฉัยในคําพิพากษาศาลฎีกา
หลายเร่องท่ผ่านมาพบว่ามีคําพิพากษาศาลฎีกาท่วินิจฉัยโดยเทียบเคียงว่าเป็นการยอมรบถึง
ั
ี
ี
ื
ทฤษฎีแนวคิดนี้ได้ โดยศาลฎีกาได้วินิจฉัยถึงพฤติการณ์ของนายจ้างตามข้อเท็จจริงที่ปรากฏใน
ั
ี
ื
คําพิพากษาศาลฎีกาแต่ละเร่องน้นว่าเป็นกรณีท่นายจ้างไม่ติดใจ หรือให้โอกาส หรือเป็นการ
ให้อภัยแก่ลูกจ้างแล้ว
336