Page 333 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 333
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
เม่อนายจ้างเข้าร่วมโครงการแล้ว แต่เข้าไม่สุดจนตลอดสาย โดยเพียงแต่ส่งลูกจ้างไปบําบัดฟื้นฟ ู
ื
ื
แต่เม่อลูกจ้างฟื้นฟูเสร็จกลับไม่รับลูกจ้างกลับเข้าทํางานต่อไปและเลิกจ้างลูกจ้างทันที ปัญหา
ในทางกฎหมายคือนายจ้างทําได้หรือไม่ โดยถือว่าการท่นายจ้างส่งลูกจ้างไปบําบัดฟื้นฟูโดย
ี
ี
ื
ไม่ดําเนินมาตรการใดต่อลกจ้างตามข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานเม่อทราบว่าลูกจ้างยุ่งเก่ยว
ู
ี
ิ
ึ
ื
ี
ู
ั
ั
้
ั
กบยาเสพติดแล้ว เป็นกรณีท่นายจ้างได้ให้อภยต่อความผดนนของลกจ้างแล้วหรอไม่ จงต้อง
ิ
ื
ี
ิ
มาวิเคราะห์ตรงจุดทว่าเมอนายจ้างรู้แล้วว่าลูกจ้างกระทาผด แต่นายจ้างไม่เลกจ้างลูกจ้างใน
่
่
ํ
ี
ื
ทันที ถือเป็นกรณีท่นายจ้างไม่ติดใจแล้วว่าการยุ่งเก่ยวกับยาเสพติดเป็นเร่องท่ฝ่าฝืนต่อข้อบังคับ
ี
ี
ึ
ี
ี
เก่ยวกับการทํางานอีกต่อไปหรือไม่ หรือเป็นกรณีท่นายจ้างให้อภัยแก่ลูกจ้างแล้ว ซ่งในประเด็น
น้นายจ้างก็อาจจะโต้แย้งว่าการท่นายจ้างส่งลูกจ้างเข้าโครงการบําบัดฟื้นฟูน้นไม่ใช่ว่านายจ้าง
ั
ี
ี
้
ั
ี
ี
ไม่ติดใจตามข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน หรือเป็นการให้โอกาสแก่ลูกจ้างแต่อย่างใด แต่ท้งน
ื
ี
ั
เพ่อประโยชน์แก่ตัวลูกจ้างเอง และครอบครัวของลูกจ้าง เพราะฉะน้นกรณีมีเหตุท่นายจ้าง
ื
ี
ยังไม่เลิกจ้างลูกจ้างในช่วงระยะเวลาดังกล่าว เน่องจากอยู่ในช่วงระยะเวลาท่นายจ้างดําเนินการ
้
่
ั
่
่
ี
ตามขอปฏบตของโครงการโรงงานสขาวทนายจางไดเขารวมโครงการไว ประกอบกบในชวงตลอด
ั
ิ
้
ิ
้
้
้
ี
ระยะเวลาที่ลูกจ้างไปเข้าโครงการบําบัดฟื้นฟูนั้น ลูกจ้างไม่ได้ทํางานให้แก่นายจ้าง อันจะถือว่า
ี
ั
ี
ี
การท่นายจ้างไม่เลิกจ้างลูกจ้างในช้นน้เป็นกรณีท่นายจ้างไม่ดําเนินการใดภายในระยะเวลาท ี ่
เหมาะสมโดยได้ให้ลูกจ้างทํางานให้แก่นายจ้างต่อไป หรือ Inordinate delay ซึ่งถือว่าเป็นกรณีที่
นายจ้างไม่ติดใจหรือให้อภัยแก่ลูกจ้างแล้วไม่ได้ และต่อมาเมื่อลูกจ้างบําบัดฟื้นฟูเสร็จ นายจ้าง
ี
จึงเลิกจ้างลูกจ้างทันทีก่อนท่ลูกจ้างจะกลับเข้ามาทํางานต่อให้แก่นายจ้าง จึงถือว่าเป็นการ
แสดงออกโดยชัดแจ้งของนายจ้างแล้วว่านายจ้างไม่ให้ลูกจ้างทํางานต่อไป
ื
ประเด็นท่ตามมาคือ เม่อลูกจ้างเข้าโครงการบําบัดฟื้นฟูเสร็จแล้ว แต่นายจ้างไม่รับลูกจ้าง
ี
้
ี
์
ั
้
่
กลบเขาทางานไดหรอไม ในประเดนนมขอแนะ (Recommendation) ขององคการแรงงานระหวาง
็
ื
่
ี
้
ํ
้
ประเทศ (International Labour Organization หรือ ILO) ซ่งเป็นองค์การแรงงานระหว่างประเทศท ี ่
ึ
เกิดขึ้นพร้อมกับการก่อตั้งสันนิบาตชาติ (The League of Nations) เมื่อ พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919)
ภายใต้สนธิสัญญาแวร์ซายส์ (Treaty of Versailles) โดยมีประเทศไทยร่วมเป็นประเทศสมาชิก
ก่อตั้งด้วย วัตถุประสงค์ในการก่อตั้ง ILO คือ ส่งเสริมความยุติธรรมทางสังคม และส่งเสริมให้
ั
สิทธิมนุษยชนและสิทธิแรงงานได้รับการยอมรับอย่างเป็นสากล จนกระท่งสันนิบาตชาติได้ถูก
ยกเลิกไป และมีการจัดตั้งสหประชาชาติ (United Nations) ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ILO
จึงกลายเป็นองค์การชํานัญพิเศษ (Specialized agency) ของสหประชาชาติอันเป็นองค์กรหลัก
ในสถานประกอบกิจการ โครงการโรงงานสีขาว, (กรุงเทพมหานคร : 2560), น. 40 – 43.
331