Page 329 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 329
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
ี
แข่งขันกับนายจ้าง รวมถึงหน้าท่ท่จะต้องไม่ไปทํางานให้แก่คู่แข่งทางการค้าของนายจ้างด้วย โดย
ถือว่าเป็นหน้าที่โดยปริยายของลูกจ้าง (implied duty) ที่จะต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์
ี
ิ
ี
ิ
สุจรต เช่น ลูกจ้างท่มีความรู้ความเช่ยวชาญพิเศษใช้เวลานอกเวลาทํางานปกตไปทํางานให้แก่
ี
ี
สถานประกอบกิจการท่ผลิตสินค้าอย่างเดียวกันกับนายจ้าง ถือว่าลูกจ้างปฏิบัติผิดหน้าท่โดย
ปริยาย ตัวอย่างคําพิพากษาศาลฎีกา เป็นต้นว่า
29
ค�าพิพากษาศาลฎีกาที่ 3729/2560 แม้ตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางานของ
ผู้ร้องจะไม่ได้ระบุเก่ยวกับการกระทําของผู้คัดค้านไว้โดยตรงและไม่มีบทกฎหมายใดบัญญัต ิ
ี
ว่าการกระทําของผู้คัดค้านเป็นความผิดก็ตาม ผู้คัดค้านเป็นทั้งประธานกรรมการสหภาพแรงงาน
และเป็นกรรมการลูกจ้างย่อมต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ดี ส่งเสริมความสัมพันธ์
ี
อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง ....มิใช่นําฐานะความเป็นประธานกรรมการสหภาพแรงงานมาใช้
ึ
ให้เกิดประโยชน์แก่บุคคลหน่งบุคคลใดโดยมิชอบ การกระทําของผู้คัดค้านดังกล่าวจึงมีเหต ุ
อันสมควรที่จะอนุญาตให้ผู้ร้องเลิกจ้างผู้คัดค้านได้
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 2351/2532 ข้อท่โจทก์อุทธรณ์ว่า โจทก์ทําร้ายนาย ศ. หลังเวลา
ี
ี
�
ํ
ึ
ิ
ั
เลกงานแล้ว และเป็นการกระทานอกบรเวณโรงงานของจาเลย ซ่งตามระเบยบข้อบงคบ
ั
ิ
ํ
ี
เกี่ยวกับการทํางานของจําเลยตามเอกสารหมาย จ.1 ข้อ 54 มิได้ครอบคลุมถึง ....พิเคราะห์แล้ว
เห็นว่า แม้ข้อตกลงเก่ยวกับสภาพการจ้างของจําเลยตามเอกสารหมาย จ.1 ข้อ 54 มิได้ระบุห้าม
ี
การก่อการวิวาทหรือชกต่อยกันนอกโรงงานหรือบริษัทก็ตาม แต่ข้อเท็จจริงได้ความว่าสาเหตุที่
โจทก์ชกต่อยนาย ศ. ซึ่งเป็นพนักงานระดับหัวหน้างานในแผนกเดียวกับโจทก์ เนื่องจากนาย ศ.
ั
ิ
ี
ื
่
ิ
ิ
ํ
ํ
ไม่เปิดให้โจทก์ทางานพเศษจึงเป็นการทาร้ายนาย ศ. เนองมาจากการปฏบตงานในหน้าท่แม้
จะเป็นการกระทํานอกโรงงานหรือบริษัทของจําเลยก็ตาม ก็ย่อมเป็นเหตุให้เกิดการแตกแยก
ความสามัคคีในหมู่พนักงานด้วยกันของจําเลย และอาจเป็นเหตุให้กระทบกระเทือนต่อการ
ดําเนินงานของจําเลย ตลอดจนอํานาจบังคับบัญชาของนาย ศ. ต่อไปในภายหน้าอีกด้วย
การกระทาของโจทก์ดังกล่าว ย่อมเป็นเหตุให้จาเลยเสียหาย ดังนั้น ที่จําเลยเลิกจ้างโจทก์จึงมิใช ่
ํ
ํ
เป็นการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมดังที่โจทก์อุทธรณ์
สําหรับประเทศไทยนั้น แม้ไม่ปรากฏว่ามีการบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี
การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation) ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร แต่จาก
29 Hivac Ltd v Park Royal Scientific Instruments Ltd [1946] และ Adamson v Cleaning Services Ltd [1995] IRLR
ื
ิ
ั
ี
193, อ้างใน พงษ์รัตน์ เครือกล่น, คําอธิบายกฎหมายแรงงานเพ่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์, พิมพ์คร้งท่ 11 (กรุงเทพมหานคร:
สํานักพิมพ์นิติธรรม, 2561), น. 63.
327