Page 325 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 325
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
ด้วยอาการเมาสุรา ย่อมทําให้การปฏิบัติหน้าท่บกพร่องและอาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่สินค้า
ั
ของจําเลยได้ ดังน้น แม้ผู้บังคับบัญชาของโจทก์จะไม่ให้โจทก์เข้าทํางานและให้กลับบ้านไป
ี
ี
ี
แต่การท่โจทก์เข้ามาปฏิบัติหน้าท่ด้วยอาการเมาสุราก็เป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเก่ยวกับ
การทํางานของจําเลยดังกล่าว ซ่งเป็นความผิดวินัยกรณีร้ายแรงจําเลยจึงเลิกจ้างโจทก์ได้โดย
ึ
ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4) ทั้งจําเลย
เลิกจ้างโจทก์ได้โดยมิพักต้องบอกกล่าวล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 583
ลูกจ้างต้องอยู่ในสภาพความพร้อมท่จะสามารถทางานได้ดี มิฉะน้นอาจก่อให้เกิด
ี
�
ั
ความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สินของเพ่อนร่วมงาน และต่อนายจ้างได้ การท่ลูกจ้างอยู่ใน
ี
ื
ภาวะเมาสุรา อาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อชีวิตและทรัพย์สินของเพ่อน
ื
ร่วมงานและต่อนายจ้างได้ จึงถือว่าเป็นความผิดอย่างร้ายแรงตามข้อบังคับเก่ยวกับการทางาน
ี
�
ค�าพิพากษาศาลฎีกาที่ 6989/2547 เหตุที่จําเลยกําหนดระเบียบการตรวจสอบระดับ
ี
ปริมาณแอลกอฮอล์จากลมหายใจ เน่องจากสถานท่ทํางานของจําเลยอยู่กลางอ่าวไทยเป็น
ื
้
แท่นขุดเจาะก๊าซและนํามัน ประกอบไปด้วยอุปกรณ์เคร่องจักรและระบบควบคุมการทํางาน
ื
ี
ท่จะต้องคํานึงถึงความปลอดภัยอย่างมาก โจทก์จะต้องอยู่ในสภาพความพร้อมท่จะสามารถ
ี
ู
ิ
ิ
ี
ทํางานได้ด หากโจทก์อย่ในภาวะเมาสุรา อาจก่อให้เกดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อชีวต
ื
และทรัพย์สินของเพ่อนร่วมงานและต่อจําเลยได้ พฤติการณ์ของโจทก์จึงถือได้ว่าเป็นความผิด
ี
ั
อย่างร้ายแรงตามข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานของจําเลย แม้ว่าจะเป็นการกระทําผิดคร้งแรกก็ตาม
ั
ั
่
ี
ื
ี
�
ั
่
ี
ั
แม้ความเสยหายจากการฝ่าฝืนข้อบงคบเกยวกบการทางาน ระเบยบ หรอคาสง
�
ของนายจ้าง ยังไม่เกิดขึ้น ก็ถือว่าเป็นกรณีที่ร้ายแรงได้
ี
�
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 7770/2538 จําเลยมิได้กําหนดไว้ในระเบียบข้อบังคับการทํางาน
ื
ให้นําผลจากการด่มมากด่มน้อยเพียงใดหรือผลจากการด่มแล้วยังสามารถปฏิบัติหน้าท่ได้หรือ
ื
ี
ื
ไม่มาเป็นเกณฑ์มาพิจารณาถึงความร้ายแรงหรือไม่โจทก์เป็นลูกจ้างจําเลยในตําแหน่งพนักงาน
ขับรถยนต์รับส่งผู้บริหารของบริษัทจําเลยตั้งแต่เวลา 17 นาฬิกา ถึงเวลา 20 นาฬิกา แม้ว่าจะ
ื
็
อย่ในระหว่างระยะเวลาทางานล่วงเวลาแต่กต้องถอว่าอย่ในระหว่างปฏบตหน้าทตําแหน่งและ
ู
ี
่
ิ
ํ
ู
ิ
ั
หน้าท่ท่โจทก์ปฏิบัติย่อมต้องใช้ความรับผิดชอบและความระมัดระวังสูง หากประมาทเลินเล่อ
ี
ี
ย่อมนํามาซ่งความเสียหายได้ทันที ดังน้นหากปล่อยให้โจทก์ด่มสุราหรือส่งมึนเมาจนถึงข้น
ั
ึ
ิ
ั
ื
ี
ึ
ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ได้หรือมึนเมาจนก่อให้เกิดความเสียหายข้นก่อนแล้วจึงถือว่าเป็นความผิด
ร้ายแรง นายจ้างโดยทั่วไปหรือจําเลยก็ย่อมไม่ได้รับประโยชน์หรือความคุ้มครองในมาตรการที่
ื
ี
ป้องกันภยันตรายท่จําเลยได้กําหนดไว้หรือตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเร่องการคุ้มครอง
323