Page 323 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 323

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                                                                                           �
                    การเสพเมทแอมเฟตามีนในสถานประกอบการ เป็นภัยต่อองค์กร และทาให้
            สถานประกอบการเสียชื่อเสียงได้

                     �
                    คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 10045/2559 ผู้คัดค้านกระทําความผิดตามพระราชบัญญัต       ิ
                                         ี
            ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 57 และมาตรา 91 ด้วยการเสพเมทแอมเฟตามีนอันเป็น
                                                         ู่
                                        ึ
                                        ่
                                          ี
            ยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 ซงมโทษร้ายแรงเข้าสร่างกาย พฤติกรรมเป็นภยร้ายแรงต่อตนเอง
                                                                              ั
                      ี
            และสังคมท่ภาครัฐมีนโยบายชัดเจนในการป้องกันและปราบปรามท้งผู้จําหน่ายและผู้เสพมาโดย
                                                                      ั
            ตลอด การที่ผู้คัดค้านเสพเมทแอมเฟตามีนเข้าสู่ร่างกายแล้วเข้าไปทํางานในสถานประกอบการ
            ของผู้ร้องซ่งเป็นนายจ้าง ย่อมเป็นภัยต่อท้งผู้ร้องและเพ่อนร่วมงาน และอาจทําให้ผู้ร้อง
                                                                 ื
                       ึ
                                                    ั
                            ั
                 ื
                                                            ี
                                            ี
            เสียช่อเสียงได้ ท้งเป็นการกระทําท่ฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานของผู้ร้องในหมวด 7
            ข้อ 7.2.16 ในกรณีร้ายแรงตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4)
                                                                                     �
                    การเสพยาเสพติดในสถานประกอบการ อาจก่อให้เกิดอันตรายในการทางาน และ
            ท�าให้องค์กรเสียชื่อเสียงได้ ถือได้ว่าเป็นการประพฤติชั่ว
                                        ี
                     �
                    คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 5912/2546 สภาพการทํางานในบริษัทจําเลย พนักงานส่วนใหญ่
            ต้องใช้มีดเป็นอุปกรณ์ในการทํางาน การเสพยาเสพติดอาจก่อให้เกิดอันตรายในการทํางานได้
                                                                                             ึ
            นอกจากน้การจําหน่ายยาเสพติดก็เป็นภัยต่อเศรษฐกิจของผู้เสพ อาจก่อให้เกิดอาชญากรรมข้น
                     ี
                 ั
            อีกท้งทําให้ผู้เสพทํางานบกพร่อง ผลงานลดน้อยถอยลงอันมีผลกระทบต่อการทํางานของ
            พนักงานในสถานประกอบการของจําเลยซ่งมีลูกจ้างจํานวนมากถึง 4,500 คน และบริษัทจําเลย
                                                 ึ
                                                           ี
            เคร่งครัดไม่ให้พนักงานเก่ยวข้องกับยาเสพติด การท่โจทก์มีพฤติการณ์เก่ยวข้องกับยาเสพติด
                                   ี
                                                                             ี
            อาจก่อให้เกิดอันตรายในการทํางานของพนักงานทั้งเป็นที่เสียหายแก่ชื่อเสียงของจําเลย ถือได้
            ว่าโจทก์ประพฤติช่วอันเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานของจําเลยซ่งเป็นกรณ ี
                            ั
                                                                                      ึ
                                                             ี
            ร้ายแรง จําเลยจึงเลิกจ้างโจทก์ได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
            พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4)
                    การมีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด แม้จะเป็นเพียงผู้เสพ และเข้ารับการฟื้นฟู
            สมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดแล้ว ก็เป็นผลเสียหายต่อองค์กร

                                         ี
                     �
                    คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 6924/2557 ตามข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานของจําเลย
                                                                     ี
            พนักงานต้องไม่กระทําความผิดทางอาญา และจําเลยเลิกจ้างโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยในกรณ    ี
            ที่พนักงานกระทําความผิดอย่างร้ายแรง และประกาศของจําเลยที่ว่า เมื่อจําเลยหรือหน่วยงาน
            ราชการตรวจพบสารเสพติดในร่างกายของพนักงานจะได้รับการพิจารณาโทษทางวินัย คือ

                                                          ี
                                          ี
            เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย การท่โจทก์มีพฤติกรรมเก่ยวข้องกับยาเสพติดให้โทษแม้จะเป็นเพียง


                                                                                             321
   318   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328