Page 319 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 319
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
องค์ประกอบข้อที่ 3 นายจ้างมีพฤติการณ์โดยชัดแจ้ง หรือโดยปริยาย ที่แสดงว่า
ั
เป็นการให้อภัยต่อความผิดน้นของลูกจ้างแล้ว (Express or Implied Behavior) โดยการท ่ ี
นายจ้างให้ลูกจ้างทํางานต่อไป 16
สําหรับประเทศไทย ยังไม่ปรากฏว่ามีการบัญญัติกฎหมายท่เก่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี
ี
ี
การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation) ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
สถานการณ์กรณีศึกษา (case study scenario) ที่ 1
ี
แนวคิด ทฤษฎ การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation) กับ
ี
ี
ข้อยกเว้นการจ่ายค่าชดเชยในกรณีท่ลูกจ้างฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทางาน ระเบียบ หรือ
�
�
ั
คาส่งของนายจ้าง อันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรมตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4)
ค่าชดเชย เป็นเงินประเภทหนึ่งตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 เป็น
ื
ื
เงินชดเชยตามกฎหมายท่กําหนดให้นายจ้างต้องจ่ายให้แก่ลูกจ้างเม่อเลิกจ้าง หรือเม่อลูกจ้าง
ี
ี
ื
ถูกให้ออกจากงาน โดยเป็นการจ่ายแยกต่างหากจากเงินประเภทอ่นท่นายจ้างตกลงจ่ายให้แก่
ึ
ื
ลูกจ้าง เพ่อต้องการช่วยเหลือเยียวยาลูกจ้างให้มีเงินจํานวนหน่ง หรือเพ่อเป็นการชดเชยให้แก่
ื
17
ี
ี
ื
ลูกจ้างจากการส้นสุดสัญญาจ้างอันเน่องมาจากการท่นายจ้างเลิกจ้างโดยท่ลูกจ้างไม่ได้กระทําผิด
ิ
หรือไม่มีเหตุท่นายจ้างสามารถเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างตาม
ี
มาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
ี
ข้อยกเว้นในการจ่ายค่าชดเชย ซ่งเป็นเหตุท่นายจ้างสามารถเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยไม่ต้อง
ึ
จ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างตามมาตรา 119 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 นั้น
ได้แก่
ึ
ึ
“มาตรา 119 นายจ้างไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซ่งเลิกจ้างในกรณีหน่งกรณีใด
ดังต่อไปนี้
(1) ทุจริตต่อหน้าที่หรือกระทําความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง
(2) จงใจทําให้นายจ้างได้รับความเสียหาย
the more difficult it would be for the disciplining body to justify the proceedings against the employee. Further, long
delay may, when coupled with some other circumstances, amount to strong evidence of condonation on the part of
the employer of the employee misconduct.”
16 Supra note 3, pp. 145-146.
17 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 5 “ค่าชดเชย” หมายความว่า เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้าง
เมื่อเลิกจ้าง นอกเหนือจากเงินประเภทอื่นซึ่งนายจ้างตกลงจ่ายให้แก่ลูกจ้าง
317