Page 317 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 317
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
3) นายจ้างมีพฤติการณ์โดยชัดแจ้ง หรือโดยปริยาย ท่แสดงว่าเป็นการให้อภัยต่อความ
ี
ั
ผิดน้นของลูกจ้างแล้ว (express or implied behaviour of the employer to condone misconduct) 6
องค์ประกอบข้อที่ 1 นายจ้างรู้ถึงการกระท�าผิดของลูกจ้างแล้ว
กล่าวคือ ลูกจ้างกระทําผิดและนายจ้างรู้ถึงการกระทําผิดนั้นแล้ว มีตัวอย่างคดีที่ตัดสิน
7
โดยศาลอุทธรณ์ในแคนาดา ในคดีแมคอินไทร์ vs ฮอคกิน ในปี ค.ศ. 1889 ซึ่งวางหลักไว้ว่า
ี
“เม่อนายจ้างรู้ถึงการกระทําผิดของลูกจ้างซ่งเพียงพอท่จะตัดสินว่าจะเลิกจ้างลูกจ้าง
ึ
ื
หรือไม่ นายจ้างมีทางเลือกว่าจะเลิกจ้าง หรือจะมองข้ามความผิดนั้นไป แต่นายจ้างไม่สามารถ
ั
ี
ั
ท่จะเลือกให้ลูกจ้างผู้น้นทํางานต่อไปแล้วมาเลิกจ้างเขาในภายหลังด้วยสาเหตุความผิดน้น
ี
แต่หากนายจ้างยังคงให้ลูกจ้างทํางานในระยะเวลาต่อมาหลังจากท่พบการกระทําผิดของลูกจ้างแล้ว
สิ่งนั้นคือการให้อภัยแก่ลูกจ้างแล้ว และนายจ้างก็ไม่สามารถเลิกจ้างลูกจ้างด้วยสาเหตุความผิด
นั้นได้อีกถ้าหากไม่มีข้อเท็จจริงอะไรใหม่” 8
ี
ี
ี
หลังจากคดีแมคอินไทร์ vs ฮอคกิน น้ มีคดีท่วินิจฉัยตามมาคือคดีเทรซ่ vs สวอนซี
ั
9
ึ
คอนสตรัคช่น ซ่งศาลอุทธรณ์ในแคนาดา ตัดสินไว้ในปี ค.ศ. 1965 ซ่งวินิจฉัยในทํานองเดียวกันว่า
ึ
“While a master, upon becoming aware of a servant’s misconduct sufficient to
justify immediate dismissal, is entitled to a reasonable time to decide whether or not he will
dismiss, yet, if he retains the servants for any considerable time after discovering his fault,
he condones such conduct and is not entitled subsequently to dismiss him on account
of what which he has condoned.” 10
ึ
มีตัวอย่างอีกคดีหน่งในประเทศมาเลเซีย The Federal Court ตัดสินไว้ในคดีรานชิท ซิงห์
vs โฮเทล เอกซ์เซลซิเออร์ ซึ่งวางหลักไว้ว่า การให้อภัยจะไม่เกิดขึ้นได้เลย หากนายจ้างไม่รู้
11
6 Ibid.
7 Ibid, p. 142.
8 McIntyre v Hockin (1889) 16 O.A.R 498, the judge mentioned that: “When an employer becomes aware of
misconduct on the part of his servant, sufficient to justify dismissal, he may adopt either of two courses. He may dismiss,
or he may overlook the fault. But he cannot retain the servant in his employment, and afterwards at any distance of
time turn him away…if he retains the servants in his employment for any considerable time after discovering his fault,
that is condonation, and he cannot afterwards dismiss for that fault without anything new.”
9 Supra note 3, p. 142.
10 Tracey v Swansea Construction Co. Ltd. [1965] 1 O.R. 203.
11 Supra note 3, p. 143.
315