Page 316 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 316

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                       ี
                                       ่
              ี
                          ิ
                                               ิ
            เก่ยวกับการเลกจ้างลูกจ้างทกระทําผดตงแต่ปี  ค.ศ.  1889  เป็นต้นมา  แนวคิดทฤษฎน้       ี
                                                                                             ี
                                                  ้
                                                  ั
                          ื
                                                                           ี
            มีจุดประสงค์เพ่อป้องกันมิให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างสําหรับความผิดท่นายจ้างไม่ติดใจ หรือ
            ได้ให้อภัยแก่ลูกจ้างแล้ว  สําหรับพฤติการณ์อย่างไรบ้างของนายจ้างที่จะเป็นการให้อภัยในการ
                                 2
                                                                         ื
            กระทําผิดของลูกจ้างน้นข้นอยู่กับข้อเท็จจริงแต่ละเร่องเป็นกรณีไป เน่องจากไม่มีคํานิยาม หรือ
                                                         ื
                                   ึ
                                ั
            คําจํากัดความ ในการอธิบายความหมายของแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัย น้ท่จะสามารถครอบคลุม
                                                                            ี
                                                                           ี
            ทุกบริบทในทุกคดีได้ 3
                                ื
                                                     ึ
                    หลักการในเบ้องต้น การให้อภัยจะมีข้นเมื่อนายจ้างรู้ถึงการกระทําผิดของลูกจ้างแล้ว
                     ี
                                                                                ี
                                                   ื
                                   ั
            แต่เลือกท่จะให้ลูกจ้างผู้น้นทํางานต่อไป เม่อถือว่ามีการให้อภัยในความผิดท่ลูกจ้างได้กระทํา
            นนแล้ว นายจ้างกไม่อาจจะเลกจ้างลกจ้างคนนนได้อกต่อไปหากลกจ้างผ้นนไม่ได้กระทาผด
                                                                                           ํ
              ั
                                                       ้
                                                                              ู
              ้
                                                                                             ิ
                                                                                ้
                                                       ั
                                              ู
                                                            ี
                                                                        ู
                             ็
                                        ิ
                                                                                ั
            นั้นอีกในเวลาต่อมา สําหรับในบทความนี้ จะศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง
            (Doctrine of Employer Condonation) กับสถานการณ์กรณีศึกษา (case study scenario)
            บางกรณี คือ กรณีศึกษาการให้อภัยของนายจ้างที่เกี่ยวกับข้อยกเว้นการจ่ายค่าชดเชยในกรณีที่
            ลูกจ้างฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําส่งของนายจ้าง อันชอบด้วยกฎหมาย
                                                                ั
                                 ี
            และเป็นธรรมตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4) และกรณีศึกษา
                                                                                    ี
                                  ี
                                    ี
            การให้อภัยของนายจ้างท่เก่ยวกับมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศในการจัดการเก่ยวกับปัญหา
            ยาเสพติดในสถานประกอบการ
                    องค์ประกอบของแนวคิด ทฤษฎี
                    องค์ประกอบของแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer
            Condonation) ได้แก่
                    1)  นายจ้างรู้ถึงการกระทําผิดของลูกจ้างแล้ว (Employer has full knowledge of the
            employee’s misconduct) 4
                    2)  นายจ้างล่าช้าเกินไปกว่าระยะเวลาตามปกติในการใช้สิทธิเลิกจ้างลูกจ้าง หรือ
            ไม่สมเหตุสมผล (Inordinate delay)  กล่าวคือ นายจ้างไม่ดําเนินการใดเพ่อเลิกจ้างลูกจ้างภายใน
                                          5
                                                                           ื
            ระยะเวลาที่เหมาะสม และ
                    2   Aaron P. Marcotte, “Can Employers Forgive and Forget?: Employer Condonation and Wrongful Dismissal
            in Canada,” 8 W.R.L.S.I. 3, (1998), p. 1.
                    3   Fariza Romli, Nuarrual Hilal Md Dahlan and Rusniah Ahmad, “Doctrine of Condonation: Challenges in the
            Management of Disciplinary Cases in Public University,” UUMJLS 7, 139-149 (2016), p. 140.
                    4   Ibid, p. 143.
                    5   Ibid.
            314
   311   312   313   314   315   316   317   318   319   320   321