Page 318 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 318
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ว่ามีการกระทําผิดเกิดขึ้นแล้ว จนกว่าเมื่อนายจ้างได้มีการดําเนินการสอบสวนในเวลาต่อมา 12
ึ
้
ู
ื
่
ั
ุ
โดยสรป การให้อภยแก่ลกจ้างจะมขนได้เมอลกจ้างกระทําผดและนายจ้างร้ถง
ี
ู
ิ
ู
ึ
ั
การกระทําน้นแล้ว และนายจ้างได้ให้อภัยแก่ลูกจ้างในการกระทําผิดน้น ก่อนท่นายจ้างจะมี
ั
ี
การดําเนินการทางวินัยใดต่อไปต่อลูกจ้าง
องค์ประกอบข้อที่ 2 นายจ้างไม่ด�าเนินการใดเพื่อเลิกจ้างลูกจ้างภายในระยะเวลา
ที่เหมาะสม (Inordinate Delay)
ี
หลักเกณฑ์น้กล่าวคือ นายจ้างจําจะต้องตัดสินใจเลือกโดยทันทีว่าจะดําเนินมาตรการ
ใดต่อไปต่อลูกจ้างที่กระทําผิดภายหลังจากที่นายจ้างรู้ถึงการกระทําผิดของลูกจ้างแล้ว แต่หาก
ิ
่
่
้
ิ
ี
่
ั
้
นายจางใชเวลามากกวาปกต ไมตดสนใจดําเนนการใดภายในระยะเวลาทเหมาะสมในสถานการณ ์
ิ
ี
ี
เช่นน้น แนวคิด ทฤษฎีน้ถือว่านายจ้างเลือกท่จะไม่ใช้สิทธิดําเนินการทางวินัยใดต่อไปต่อลูกจ้าง
ั
ที่กระทําผิด โดยถือว่านายจ้างได้ให้อภัยแก่ลูกจ้างในความผิดนั้นแล้ว 13
องค์ประกอบของหลักเกณฑ์ข้อนี้ ศาลอุทธรณ์ของมาเลเซียได้เคยวางหลักไว้ในคดีหนึ่ง
14
ในปี ค.ศ. 2005 ว่า
่
ี
“ข้อเท็จจริงท่ว่า การทคําส่งดําเนนการทางวินัยต่อลูกจ้างท่กระทําผิดไม่ได้กําหนดระยะ
ิ
ี
ั
ี
ั
เวลาในการดําเนินการไว้ ไม่ได้หมายความว่าการดําเนินการทางวินัยต่อลูกจ้างท่กระทําผิดน้นไม่ม ี
ี
ึ
ระยะเวลากําหนดไว้ แต่มันข้นอยู่กับข้อเท็จจริงในแต่ละคดี สภาพของข้อกล่าวหา ช่วงระยะเวลา
ี
ี
ิ
ท่ดําเนนการ และเหตุแห่งความล่าช้าท่เป็นการให้โอกาสแก่ลูกจ้างในการนําเสนอพยานหลักฐาน
ั
ิ
เพ่อแก้ข้อกล่าวหาน้น ในกรณีท่ไม่สามารถอธิบายเหตุผลที่สมเหตุสมผลได้ การย่งล่าช้าน้น
ื
ี
ั
ย่งเป็นการยากท่จะดําเนินคดีทางวินัยแก่พนักงาน นอกจากน้ ความล่าช้าน้นเม่อพิจารณา
ิ
ี
ื
ั
ี
ประกอบกับพฤติการณ์ต่าง ๆ ของนายจ้างแล้ว อาจถือเป็นพยานหลักฐานว่าเป็นการให้อภัย
ของนายจ้างต่อความผิดของลูกจ้างนั้นแล้ว” 15
12 The Federal Court in Ranjit Kaur a/p S. Gopal Singh v Hotel Excelsior (M) Sdn Bhd gave comment in
conclusion that “condonation does not occur if the employer does not know that the misconduct has taken place until
later when the employer immediately takes action to investigate.”
13 Supra note 3, pp. 144-145.
14 M Sentivelu R Marimuthu v Public Service Commission Malaysia & Anor [2005] 3 CLJ 778.
15 “...the fact that the General Orders Cap 'D' does not prescribed a time limit does not mean that a
disciplinary hearing in respect of charges of misconduct brought no matter how long after the event may be upheld as
being procedurally fair. It all depends on the fact of each case. In particular it depends on a number of factors including,
the nature of the charge, the length of the delay, the reasons for the delay the opportunity which the employee had
to evidentially meet the accusation leveled at him. In the absence of any reasonable explanation, the longer the delay,
316