Page 321 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 321
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
2) กรณีไม่เป็นความผิดร้ายแรง หรือไม่ใช่กรณีท่ร้ายแรง นายจ้างไม่สามารถเลิกจ้าง
ึ
ั
ื
ู
ู
ิ
ี
ั
ื
ลกจ้างได้ทนท โดยนายจ้างจะต้องตกเตอนลกจ้างเป็นหนงสอก่อนจงจะเลกจ้างลกจ้างได้
ู
ั
โดยหนังสือเตือนให้มีผลบังคับได้ไม่เกินหน่งปีนับแต่วันท่ลูกจ้างได้กระทําผิด ตามพระราชบัญญัต ิ
ี
ึ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4)
ในบทความนี้ จะพิจารณาถึงเฉพาะแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine
ี
ุ
ื
of Employer Condonation) กับข้อยกเว้นการจ่ายค่าชดเชยของนายจ้าง ในกรณของเหตหรอ
ี
ั
ความผิดของลูกจ้างในกรณีการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําส่งของนายจ้าง
อันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรมตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4)
เท่าน้น กล่าวคือ เม่อปรากฏว่าลูกจ้างกระทําความผิดโดยการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน
ี
ั
ื
ั
ี
ระเบียบ หรือคําส่งของนายจ้างในกรณีท่ร้ายแรงแล้วแต่นายจ้างยังไม่ได้เลิกจ้างลูกจ้างผู้น้นทันท ี
ั
หรือในกรณีความผิดที่ไม่ร้ายแรงซึ่งนายจ้างเคยมีหนังสือเตือนไปครั้งหนึ่งแล้ว ซึ่งทั้งสองกรณีนี้
ในเวลาต่อมานายจ้างกลับมีพฤติการณ์ท่แสดงว่าเป็นการให้อภัยในการกระทําผิดน้นของลูกจ้าง
ี
ั
ั
ไปเสียแล้ว จะส่งผลทําให้นายจ้างยังมีสิทธิเลิกจ้างลูกจ้างผู้กระทําผิดน้นอยู่โดยไม่ต้องจ่าย
ค่าชดเชยหรือไม่ อย่างไร กรณีหน่ง หรือจะส่งผลทําให้หนังสือเตือนท่นายจ้างเคยตักเตือนไม่ให้
ึ
ี
ิ
ั
ลูกจ้างกระทําความผิดน้นอีกส้นผลไปด้วยหรือไม่ คือเปรียบเสมือนว่านายจ้างยังไม่เคยมีหนังสือ
เตือนในความผิดนั้นมาก่อนหรือไม่ อีกกรณีหนึ่ง
ี
ื
ในเบ้องต้น ขอนําเสนอถึงหลักในการพิจารณาก่อนว่าความผิดใดเป็นกรณีท่ร้ายแรง
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4) เน่องจากกฎหมายไม่ได้กําหนด
ื
คํานิยามไว้ ซึ่งสามารถสรุปหลักในการพิจารณาจากคําพิพากษาศาลฎีกาได้ ดังต่อไปนี้
�
ี
ข้อบังคับเก่ยวกับการทางานกาหนดไว้ว่าความผิดใดมีโทษสูงสุดถึงให้ออกหรือ
�
ี
�
ไล่ออก แสดงว่าประสงค์ให้การฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทางานในข้อน้เป็นกรณีท่ร้ายแรง
ี
ี
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 1416/2525 ระเบียบเกี่ยวกับการทํางานของจําเลยกําหนด
�
ี
ุ
่
ื
ิ
โทษฐานดมสราในขณะปฏบตหน้าทของยามไว้ให้มโทษถงให้ออกหรอไล่ออกอนเป็นโทษสงสด
ุ
ู
ั
ื
ั
ึ
ี
ี
ิ
่
ี
ี
ั
แสดงว่าจําเลยประสงค์ให้การฝ่าฝืนระเบียบข้อน้เป็นกรณีท่ร้ายแรง ท้งผู้ว่าจ้างบริษัทจําเลยให้
รักษาความปลอดภัยก็ประสงค์ให้ยามปราศจากการมึนเมาอย่างแท้จริง จึงกําหนดไว้ในสัญญา
ว่ายามที่ปฏิบัติหน้าที่จะต้องงดเว้นการดื่มสุราหรือเสพของมึนเมา 4 ชั่วโมง ก่อนถึงเวลาปฏิบัติ
ี
หน้าท่ ดังน้ การท่โจทก์ท้งสองด่มสุราในเวลาปฏิบัติหน้าท่ซ่งอาจทําให้ปฏิบัติหน้าท่ผิดพลาดหรือ
ี
ี
ื
ั
ึ
ี
ี
ี
บกพร่องได้โดยง่ายเพราะขาดสติสัมปชัญญะ ท่อาจก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากท้งแก่บริษัท
ั
319