Page 322 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 322
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ี
ั
จําเลยผู้เป็นนายจ้างของโจทก์ท้งสอง และแก่ผู้ท่ว่าจ้างบริษัทจําเลยให้รักษาความปลอดภัยให้
จึงเป็นการฝ่าฝืนระเบียบเกี่ยวกับการทํางานของจําเลยเป็นกรณีที่ร้ายแรง จําเลยมีสิทธิเลิกจ้าง
โจทก์ทั้งสองโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
ข้อบังคับเก่ยวกับการทางานไม่ได้ระบุชัดเจนว่าการกระทาใดเป็นความผิดกรณีท ่ ี
�
�
ี
ี
ร้ายแรง จะเป็นกรณีท่ร้ายแรงหรือไม่ให้พิจารณาจากพฤติการณ์กับข้อเท็จจริงในแต่ละ
กรณี และความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนประกอบกัน
ี
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 13894/2555 โจทก์อุทธรณ์อ้างว่าตามระเบียบข้อบังคับ
�
ในการปฏิบัติงานของจําเลยท่ 1 มิได้ระบุชัดเจนว่าการกระทําอย่างไรเป็นความผิดกรณ ี
ี
ี
ท่ร้ายแรงน้น เห็นว่า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 583 และพระราชบัญญัต ิ
ั
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4) หาได้บัญญัติว่าการกระทําหรือข้อบังคับเกี่ยวกับ
การทํางานท่ลูกจ้างฝ่าฝืนต้องระบุว่าความผิดกรณีร้ายแรงเป็นอย่างไร คงบัญญัติเพียงว่า
ี
หากมีการกระทําผิดอย่างร้ายแรงหรือฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานกรณีร้ายแรง นายจ้าง
ี
ไม่จําต้องบอกกล่าวล่วงหน้าว่าจะเลิกจ้างหรือตักเตือนเป็นหนังสือ ดังนั้น แม้ระเบียบข้อบังคับ
ิ
ี
ิ
ุ
่
ี
่
ํ
ี
ั
ในการปฏบตงานของจาเลยท 1 ไม่ระบว่าการกระทําของโจทก์เป็นความผดกรณทร้ายแรง
ิ
ี
จําเลยท่ 1 ก็ยังมีสิทธิเลิกจ้างโจทก์โดยพิจารณาจากพฤติการณ์ในการฝ่าฝืนระเบียบได้เองว่า
ึ
กรณีใดเป็นกรณีร้ายแรง ข้นอยู่กบข้อเท็จจริงแต่ละกรณีว่าการฝ่าฝืนมีผลให้เกิดความเสียหาย
ั
่
ํ
ี
ี
ี
แก่นายจ้าง ลูกจ้างอน สถานททางาน ความสงบเรยบร้อยและศลธรรมอนดีของประชาชน
ั
ื
่
มากน้อยเพียงใด....
ี
�
�
การกระทาความผิดอาญาเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทางาน ระเบียบ หรือ
ค�าสั่งของนายจ้าง กรณีที่ร้ายแรง (หากถูกด�าเนินคดีอาญาแล้ว)
ี
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 13894/2555 ....โจทก์ยอมรับว่าได้พกพาอาวุธมีดเข้าไปก่อเหต ุ
�
วิวาทในสถานที่ทํางานจนถูกดําเนินคดีอาญา ทั้งในเหตุพกพาอาวุธมีดไปในเมือง หมู่บ้านหรือ
ึ
ทางสาธารณะ และในเหตุทําร้ายร่างกายผู้อ่นเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ซ่งมีโทษ
ื
ทางอาญา การกระทําของโจทก์ย่อมเป็นการกระทําฝ่าฝืนต่อกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับใน
การปฏิบัติงาน ซึ่งถือได้ว่าเป็นกรณีที่ร้ายแรง
แต่หากยังไม่ได้มีการดําเนินคดีอาญา จะเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน
ี
ระเบียบ หรือคําสั่งของนายจ้าง กรณีที่ร้ายแรง หากกระทบกับกิจการ หรือชื่อเสียงของนายจ้าง
เป็นต้นว่า
320