Page 327 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 327

ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564




                                                                                    ั
                                                   ี
            แม้ความเสียหายจากการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําส่งของจําเลย
            ยังไม่เกิดขึ้นก็ตาม
                    จากบทบัญญัติมาตรา 119 (4) แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 และ
                                                                                       ํ
                                                                          ี
            จากแนวคาวนจฉยในคาพพากษาศาลฎกาข้างต้น สรุปได้ว่าในกรณทลกจ้างกระทาผดโดย
                                                                                          ิ
                        ิ
                     ํ
                            ั
                         ิ
                                                                            ่
                                 ํ
                                                                             ู
                                    ิ
                                                ี
                                                                            ี
                           ั
            การฝ่าฝืนข้อบังคบเกยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําส่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมายและ
                                                             ั
                               ่
                               ี
            เป็นธรรมเป็นกรณีที่ร้ายแรงตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119 (4)
            นั้น นายจ้างสามารถเลิกจ้างลูกจ้างผู้นั้นได้ทันทีโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามกฎหมาย แต่หาก
                               ั
                                             ี
            ความผิดของลูกจ้างน้นไม่ใช่เป็นกรณีท่ร้ายแรง นายจ้างจะต้องตักเตือนลูกจ้างเป็นหนังสือก่อนท ่ ี
                                                                              ี
            จะเลิกจ้าง และหนังสือเตือนดังกล่าวให้มีผลบังคับได้ไม่เกินหน่งปีนับแต่วันท่ลูกจ้างได้กระทําผิด
                                                                  ึ
                                                                                   18
            โดยหลักหนังสือเตือนที่มีผลบังคับได้นั้น ต้องทําเป็นหนังสือหรือลายลักษณ์อักษร  มีข้อความ
            ท่เป็นสาระสําคัญโดยระบุถึงการกระทําผิดของลูกจ้างน้นว่ามีพฤติการณ์อย่างไร  และผู้ลงนาม
              ี
                                                            ั
                                                                                 19
            ในหนังสือเตือนต้องมีอํานาจในการลงนาม โดยเป็นนายจ้าง หรือมีฐานะเป็นนายจ้างของลูกจ้าง
            นั้น  ทั้งนี้ แม้หนังสือเตือนจะไม่มี “แบบ” แต่หนังสือเตือนก็ต้องมีสาระที่ลูกจ้างสามารถเข้าใจ
               20
                                                                                           ํ
                                                                                           ้
            ได้ว่าเป็นการตักเตือนความผิดเรื่องอะไร และต้องมีข้อความระบุถึงการห้ามกระทําผิดนั้นซาอีก
                                                                   ื
                                                                                 ึ
                                   ื
            หรือในทํานองเดียวกัน เพ่อลูกจ้างจะได้รู้ตัวว่าตนกระทําผิดในเร่องหรือฐานใด ซ่งมีวัตถุประสงค์
                                                                          ั
            เพ่อให้ลูกจ้างจะได้ปรับปรุงแก้ไขในเร่องดังกล่าว เพ่อจะได้ไม่กระทําผิดน้นซําอีก  ประเด็นปัญหา
                                                                            ้
               ื
                                                                                21
                                                        ื
                                            ื
            คือหากลูกจ้างไม่ยอมรับหนังสือเตือน นายจ้างจะดําเนินการอย่างไร ซึ่งตามกฎหมายแล้วไม่ได้
                                                                                     ื
            กําหนดถึงวิธีการแจ้งหนังสือเตือนให้ลูกจ้างรับทราบ หรือต้องให้ลูกจ้างลงลายมือช่อรับทราบ
                                                                               ื
                            ั
            หนังสือเตือน ดังน้น แม้ลูกจ้างไม่ยอมรับหนังสือเตือน หรือไม่ยอมลงลายมือช่อรับทราบหนังสือ
            เตือน ก็ไม่ได้หมายความว่าลูกจ้างจะไม่ทราบหนังสือเตือนทุกกรณีไป เพราะการลงลายมือชื่อ
            กับการรับทราบถึงหนังสือเตือนเป็นคนละกรณีกัน ดังนั้น การที่นายจ้างออกหนังสือเตือน และ
            ได้แจ้งให้ลูกจ้างทราบ แม้ลูกจ้างจะไม่ได้ลงลายมือชื่อรับทราบในหนังสือเตือนก็ถือว่าลูกจ้างได้
                                                                                  ื
            รับทราบหนังสือเตือนซ่งทําให้หนังสือเตือนดังกล่าวมีผลใช้บังคับได้แล้ว  และเม่อต่อมาลูกจ้าง
                                 ึ
                                                                          22
                    18   อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4790/2546, 4320/2546 และ 1252/2526
                    19   อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1916/2527
                    20   วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม, คําอธิบายกฎหมายแรงงาน, พิมพ์ครั้งที่ 6 (กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน, 2562), น.
            301–302. และอ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1543/2526
                    21   อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 7921/2547, 5222/2545, 180/2526 และ 3601/2525
                    22   อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 6251/2534
                                                                                             325
   322   323   324   325   326   327   328   329   330   331   332