Page 331 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 331
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 2600/2526 ข้อบังคับของนายจ้างระบุว่า พนักงานอาจถูก
�
ไล่ออกเม่อ “มาทํางานสายกลับก่อนเวลาทํางาน ฯลฯ แม้จะได้มีการตักเตือนด้วยวาจา
ื
้
ั
ั
้
หลายคร้ง รวมทงทําทัณฑ์บนเป็นลายลักษณ์อักษรด้วยหน่งคร้ง” นนมีความหมายว่าต้องมี
ั
ึ
ั
ี
ึ
ึ
ั
การกระทําประการหน่งประการใดในคร้งสุดท้ายท่นายจ้างจะถือเป็นเหตุไล่ออกเกิดข้นด้วยจะถือ
เอาการตักเตือนหลาย ๆ ครั้ง หรือการทําทัณฑ์บนมาเป็นเหตุเลิกจ้างโดยไม่ต้องมีการกระทํา
ี
ื
ในปัจจุบันหาได้ไม่ แม้ข้อบังคับข้ออ่นระบุว่า “พนักงานท่ถูกทําทัณฑ์บนเป็นลายลักษณ์อักษร
้
ั
ื
้
หากทําผิดซําอีกจะถูกลงโทษข้นไล่ออก” แต่เม่อปรากฏว่าพนักงานบางคนกระทําผิดซํานายจ้าง
ั
ั
ั
ก็ไม่ได้ลงโทษถึงข้นไล่ออกแต่กลบตักเตือนต่อมาอีกหลายคร้งแสดงว่านายจ้างไม่ติดใจลงโทษ
โดยเหตุน้นแล้ว ดังน้น นายจ้างจะเลิกจ้างโดยอาศัยข้อบังคับข้อน้หาได้ไม่ การท่นายจ้าง
ี
ี
ั
ั
เลิกจ้างลูกจ้างซ่งเก่ยวข้องกับข้อเรียกร้องในขณะท่ข้อตกลงเก่ยวกับสภาพการจ้างมีผลบังคับ
ี
ี
ึ
ี
ี
โดยไม่ปรากฏว่าลูกจ้างกระทําการตามท่บัญญัติไว้ในมาตรา 123 แห่งพระราชบัญญัต ิ
แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518 จึงเป็นการกระทําอันไม่เป็นธรรม
ื
ั
เม่อพิจารณาจากข้อเท็จจริงตามคําพิพากษาศาลฎีกาท้งหมดข้างต้นพบว่า นายจ้าง
รู้ว่าลูกจ้างกระทําความผิดแล้ว แต่นายจ้างไม่ดําเนินการใดเพื่อเลิกจ้างลูกจ้างภายในระยะเวลา
ท่เหมาะสม (Inordinate delay) และนายจ้างมีพฤติการณ์ตามท่ปรากฏในแต่ละคดีท่ศาลฎีกา
ี
ี
ี
วินิจฉัยว่าเป็นการให้อภัยแก่ลูกจ้างแล้ว ซ่งเม่อพิจารณาตามองค์ประกอบของแนวคิด ทฤษฎ ี
ื
ึ
การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation) ข้างต้นแล้วครบองค์ประกอบ
ทุกประการ จึงถือว่านายจ้างไม่ติดใจ หรือได้ให้อภัยต่อความผิดนั้นของลูกจ้างไปแล้ว นายจ้าง
ั
ั
จะนําเหตุแห่งความผิดน้นมาเป็นเหตุในการเลิกจ้าง หรือจะนําเหตุแห่งความผิดน้นมากล่าวโทษ
ํ
้
ลูกจ้างอีกว่ากระทําผิดซาคําเตือนหาได้ไม่
329