Page 332 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 332

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                    สถานการณ์กรณีศึกษา (case study scenario) ที่ 2
                    แนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation)

            กับมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศในการจัดการเก่ยวกับปัญหายาเสพติดในสถาน
                                                                ี
            ประกอบการ

                    ปัจจุบันรัฐบาลมีโครงการดําเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถาน
            ประกอบการของหน่วยงานภาครัฐ หรือท่เรียกว่า โครงการโรงงานสีขาว เพ่อหยุดย้งการแพร่
                                                 ี
                                                                                      ั
                                                                               ื
            ระบาดของปัญหายาเสพตดในสถานประกอบการ และส่งเสริมให้สถานประกอบการมความร้             ู
                                                                                        ี
                                    ิ
                                                                      ี
            ความเข้าใจเร่องการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด  การท่สถานประกอบการเข้าร่วม
                         ื
                                                              30
            โครงการนี้ มีความเกี่ยวพันกับแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer
            Condonation) อย่างไร กล่าวคือ การท่นายจ้างแสดงความจํานงให้ความร่วมมือเข้าร่วมโครงการ
                                             ี
            แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการกับหน่วยงานราชการโดยแสดงเจตนาไว้ล่วงหน้า
            ว่า หากมีลูกจ้างท่เก่ยวข้องกับยาเสพติดจะส่งลูกจ้างเข้าร่วมโครงการเพ่อไปบําบัดฟื้นฟูโดยท ่ ี
                               ี
                             ี
                                                                            ื
                                                    ึ
                                                                                 ี
            นายจ้างยังไม่รู้ว่ามีความผิดของลูกจ้างเกิดข้นหรือไม่ การให้อภัยต่อลูกจ้างท่ทําผิดข้อบังคับ
                                             ั
            เก่ยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําส่ง ของนายจ้างตามแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง
              ี
                                                        ึ
            (Doctrine of Employer Condonation) จึงเกิดข้นไม่ได้อย่างแน่นอนเพราะยังไม่มีความผิด
                           ึ
            ของลูกจ้างเกิดข้น แต่ช่วงเวลาต่อมาเม่อนายจ้างรู้ว่าลูกจ้างเก่ยวข้องกับยาเสพติดแล้วไม่ว่า
                                                ื
                                                                    ี
                                                                               ั
            จะเป็นการเสพ ครอบครอง หรือจําหน่ายยาเสพติดในสถานประกอบการ รวมท้งการนํายาเสพติด
                                                ึ
            เข้ามาในสถานประกอบการของนายจ้าง ซ่งปกตินายจ้างมีสิทธิเลิกจ้าง หรือดําเนินการทางวินัยใด
                                    ี
                                                                                         ี
                                                                                       ี
            ต่อลูกจ้างได้ตามข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน แต่นายจ้างไม่ดําเนินการ กลับส่งลูกจ้างท่เก่ยวข้อง
                         ี
            กับยาเสพติดท่มีพฤติกรรมเสพยาเสพติดรวมอยู่ด้วยเข้าไปทําการบําบัดฟื้นฟูกับหน่วยงานของรัฐ
            ตามโครงการโรงงานสีขาวนี้ กรณีจะถือว่านายจ้างรู้แล้วว่าลูกจ้างกระทําผิด แต่ไม่ดําเนินการใด
            ภายในระยะเวลาอันสมควร หรือ Inordinate delay ตามองค์ประกอบของแนวคิด ทฤษฎ            ี
            การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation) ข้างต้นหรือไม่
                                                                                        ื
                                  ี
                    ปัญหาในเรื่องน้พิจารณาได้ว่า ตามหลักเกณฑ์ของโครงการโรงงานสีขาว เม่อสถาน
                                                                                         ี
            ประกอบการเข้าร่วมโครงการน้แล้ว ในกรณีท่พบลูกจ้างมีพฤติกรรมเสพ หรือยุ่งเก่ยวกับ
                                                       ี
                                         ี
            ยาเสพติด นายจ้างจะต้องส่งลูกจ้างเข้าโครงการบําบัดฟื้นฟู โดยภายหลังจากฟื้นฟูเสร็จ นายจ้าง
            กต้องรบลูกจ้างกลับเข้าทํางานต่อไปตามหลักเกณฑ์ของโครงการ  แต่อาจมีปัญหาเกิดข้นคือ
                                                                                          ึ
                  ั
              ็
                                                                     31
                    30   สํานักพัฒนาการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส. กระทรวงยุติธรรม, รวมพลังสถานประกอบ
            การ ประชารัฐร่วมใจ ปลอดภัยยาเสพติด, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ์, 2559), น. 57 – 61.
                    31   กองสวัสดิการแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน, คู่มือการดําเนินงานปัองกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด


            330
   327   328   329   330   331   332   333   334   335   336   337