Page 336 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 336
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
แนวข้อปฏิบัตินี้อยู่ภายใต้กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ภายในของแต่ละประเทศ หรือที่เป็นมาตรฐาน
สากล ข้อตกลงร่วมกันหรือข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง แนวข้อปฏิบัติที่เกี่ยวข้องคือ ข้อ 5.4
ี
ี
ึ
ี
ข้อจํากัดเก่ยวกับยาเสพติดท่ผิดกฎหมาย ในข้อ 5.4.1 ซ่งกําหนดว่า ในประเทศท่ประกาศว่า
สารเสพติดใดผิดต่อกฎหมาย การใช้สารเสพติดน้นในสถานประกอบการอยู่ภายใต้กฎหมาย
ั
ั
และกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ของแต่ละประเทศ ข้อ 9. ข้นตอนการลงโทษทางวินัย ข้อ 9.2
การดําเนินการทางวินัยและบทบาทของนายจ้าง และข้อ 9.2.1 เป็นที่ยอมรับว่านายจ้างมีสิทธิ
ื
้
ี
่
ั
ิ
่
ี
่
ี
ี
่
ิ
ั
่
ี
ั
ั
ํ
ั
่
ดาเนนการทางวนยตอลูกจ้างทฝาฝนกฎ ระเบยบ ขอบงคบเกยวกบการทางานทเกยวกบยาเสพตด
ิ
ํ
และแอลกอฮอล์ อย่างไรก็ตาม การให้คําปรึกษา การดูแลรักษา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ
เป็นส่งท่ควรกระทํามากกว่าการดําเนินการทางวินัย แต่หากลูกจ้างไม่ให้ความร่วมมือกับโครงการ
ิ
ี
ื
บําบัดรักษาผู้ติดยาเสพติด หรือผู้ท่ด่มแอลกอฮอล์ นายจ้างอาจจะดําเนินการทางวินัยตามท ่ ี
ี
เห็นสมควร
ี
การท่นายจ้างให้ความร่วมมือเข้าร่วมโครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการ
กับหน่วยงานราชการโดยยินยอมให้หน่วยงานราชการเข้ามาตรวจพนักงานในสถานประกอบการ
ของตน และเมื่อนายจ้างพบว่าลูกจ้างเกี่ยวข้องกับยาเสพติดในขณะทํางานแล้ว การที่นายจ้าง
ส่งให้ลูกจ้างหยุดงานเพ่อไปเข้าร่วมโครงการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบการกับ
ื
ั
ั
หน่วยงานราชการดังกล่าว ซ่งลูกจ้างก็ยินยอมเข้าร่วมโครงการดังกล่าวโดยสมัครใจน้น จะถือว่า
ึ
นายจ้างไม่ติดใจใช้สิทธิ สละสิทธิตามสภาพการจ้างหรือตามข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางาน หรือ
ถือว่าเป็นการให้อภัยต่อลูกจ้างแล้ว หรือไม่ โดยหากพิจารณาถึงองค์ประกอบของแนวคิด ทฤษฎ ี
40
การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation) แล้ว ในขณะที่นายจ้างเข้าร่วม
โครงการดังกล่าว ความผิดของลูกจ้างยังไม่เกิดข้น จึงไม่มีความผิดใดท่เป็นการให้อภัยต่อลูกจ้าง
ึ
ี
ี
ึ
กรณีจะต้องมีความผิดของลูกจ้างเกิดข้นก่อนถึงจะมีการให้อภัยได้ แต่เป็นกรณีท่นายจ้างให้
ื
ื
ี
ความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่จัดโครงการดังกล่าวข้นเพ่อประโยชน์ต่อสังคม และเพ่อ
ึ
ประโยชน์ต่อตัวลูกจ้างและครอบครัวของลูกจ้างเอง และการท่หน่วยงานราชการขอความ
ี
ร่วมมือจากสถานประกอบการว่าขอให้รับลูกจ้างกลับเข้าทํางานภายหลังจากท่ลูกจ้างเข้าโครงการ
ี
ี
ี
บําบัดฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดเสร็จแล้ว อันเป็นนโยบายท่สอดคล้องกับข้อแนะเก่ยวกับการจัดการ
ี
ปัญหาเก่ยวกับยาเสพติดและแอลกอฮอล์ในสถานประกอบการ (Code of Practice on the
Management of Alcohol- and Drug-related Problems at the Workplace) ของ ILO ด้วยก็ตาม
40 โปรดดูหัวข้อ องค์ประกอบของแนวคิด ทฤษฎี การให้อภัยของนายจ้าง (Doctrine of Employer Condonation)
ในบทความนี้
334