Page 337 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 337
ฉบับพิเศษ ประจำ�ปี 2564
ี
ี
ี
โดยเฉพาะการท่ ILO เพียงแต่ขอความร่วมมือว่าไม่อยากให้นายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างท่ยุ่งเก่ยวกับ
ั
ยาเสพติด โดยให้ลูกจ้างเข้าสู่กระบวนการบําบัดฟื้นฟูแทนและรับลูกจ้างกลับเข้าทํางานต่อไปน้น
แสดงว่า ILO เองก็ยังเคารพและยอมรับสิทธิของนายจ้างตามสภาพการจ้างอยู่ว่านายจ้างมีสิทธ
ิ
ดําเนินการทางวินัยต่อลูกจ้างท่ฝ่าฝืนกฎ ระเบียบ ข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานท่เก่ยวกับ
ี
ี
ี
ี
ยาเสพติดและแอลกอฮอล์ตาม ILO code of practice ข้อ 1.2.2. 5.4.1. และข้อ 9.2.1.
แต่อย่างไรก็ตาม ตามหลักกฎหมายทั่วไป บุคคลหรือลูกจ้างไม่ควรถูกลงโทษ 2 ครั้งจาก
การกระทําผิดครั้งเดียว หากนายจ้างได้ลงโทษลูกจ้างซึ่งอาจทําผิดในกรณีที่ร้ายแรงไปแล้ว เช่น
ึ
ิ
ี
ิ
่
ื
ู
ลกจ้างทจรตต่อหน้าทหรอกระทําความผดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง ซงถอว่าเป็นความผด
ิ
ื
่
ุ
ร้ายแรง ปกตินายจ้างสามารถเลิกจ้างได้เลย แต่นายจ้างเพียงทําเป็นหนังสือเตือน หรือพักงาน
ื
ลูกจ้างเพ่อให้โอกาสลูกจ้างในการปรับปรุงตัว โดยไม่ได้ลงโทษลูกจ้างในทันที ต้องถือว่า
ความผิดท่ลูกจ้างได้ก่อข้นน้นได้ถูกลบล้างไปด้วยการลงโทษโดยหนังสือเตือน หรือการพักงานแล้ว
ั
ี
ึ
ึ
41
ต่อมานายจ้างจะหยิบยกเอาความผิดดังกล่าวข้นมาลงโทษลูกจ้างด้วยการเลิกจ้างไม่ได้ เพราะ
้
ถือว่าเป็นการลงโทษซํา เป็นการขัดต่อหลักกฎหมายท่วไปท่ว่า “บุคคลไม่อาจถูกลงโทษหลายคร้ง
ั
ี
ั
สําหรับการกระทําความผิดคร้งเดยวได้” ไม่ว่าบุคคลน้นจะได้กระทําความผิดในทางอาญา
ี
ั
ั
ั
ทางปกครอง หรือทางวินัย โดยการลงโทษบุคคลไม่ว่าโทษน้นจะเป็นโทษทางอาญา ทางปกครอง
หรือทางวินัย ถือได้ว่าเป็นการจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพในชีวิต ร่างกาย หรือ ทรัพย์สินของบุคคล
้
ํ
ั
ุ
ํ
้
ิ
ํ
่
ี
ผ้ถกลงโทษ การลงโทษบคคลมากกว่าหนงครงสาหรับการกระทาความผดทบคคลนนได้กระทา
ึ
ุ
ู
ู
ั
่
เพียงคร้งเดียว จึงเท่ากับเป็นการจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลท่รัฐธรรมนูญรับรองไว้โดย
ั
ี
ชัดแจ้งหรือโดยปริยายเกินความจําเป็นแก่การรักษาไว้ซึ่งประโยชน์สาธารณะ อันเป็นการขัดกับ
ั
หลักกฎหมายท่วไปและขัดกับรัฐธรรมนูญ ดังน้น แม้การท่นายจ้างส่งลูกจ้างเข้าสู่กระบวนการ
ั
ี
บําบัดฟื้นฟูจะมิใช่เป็นการลงโทษลูกจ้างโดยตรงก็ตาม แต่ก็อาจถือว่าเป็นการดําเนินมาตรการ
ี
ึ
อย่างหน่งทางวินัยต่อลูกจ้างท่เก่ยวข้องกับยาเสพติดไปแล้วโดยเปรียบเสมือนกับการพักงาน
ี
ลูกจ้าง เน่องจากในช่วงระยะเวลาท่ลูกจ้างเข้าโครงการบําบัดฟื้นฟูน้น ลูกจ้างไม่ได้ทํางานและ
ื
ี
ั
ไม่ได้รับค่าจ้างตามปกติ นายจ้างจึงจะลงโทษซาด้วยการเลิกจ้างลูกจ้างอีกไม่ได้
ํ
้
41 โปรดดูค�าพิพากษาศาลฎีกาที่ 4095/2559 ซึ่งวินิจฉัยว่า “...นาย ร. กรรมการผู้มีอํานาจกระทําการแทนโจทก์
เรียกลูกจ้างทั้งสองมาตักเตือนและแจ้งให้ทราบถึงความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยนาย ร. ไม่ได้ลงโทษลูกจ้างทั้งสองในทันที เห็นว่า
การกระทําของนาย ร. ดังกล่าวที่ไม่ลงโทษลูกจ้างทั้งสองในทันทีนั้น ย่อมแสดงให้เห็นว่านาย ร. มิได้ประสงค์จะยกเหตุดังกล่าว
ขึ้นเป็นเหตุสําคัญที่จะเลิกจ้างลูกจ้างทั้งสอง แต่ได้ให้โอกาสแก่ลูกจ้างทั้งสองในการปรับปรุงตัว...” และค�าพิพากษาศาลฎีกาที่
้
ั
ื
2600/2526 ซ่งวินิจฉัยว่า “...เม่อปรากฏว่าพนักงานบางคนกระทําผิดซํานายจ้างก็ไม่ได้ลงโทษถึงข้นไล่ออกแต่กลับตักเตือนต่อมา
ึ
อีกหลายครั้งแสดงว่านายจ้างไม่ติดใจลงโทษโดยเหตุนั้นแล้ว ดังนั้น นายจ้างจะเลิกจ้างโดยอาศัยข้อบังคับข้อนี้หาได้ไม่...”
335