Page 330 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 330

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                                                           ี
            การค้นคว้าคําพิพากษาศาลฎีกาพบว่ามีคําพิพากษาท่วินิจฉัยใกล้เคียงโดยเทียบเคียงกับแนวคิด
                   ี
                                                                         ั
            ทฤษฎีน้ได้ โดยศาลฎีกาวินิจฉัยว่าพฤติการณ์ของนายจ้างในแต่ละคดีน้น ถือว่านายจ้างไม่ติดใจ
            หรือให้โอกาส หรือเป็นการให้อภัยแก่ลูกจ้างแล้ว เป็นต้นว่า
                    ค�าพิพากษาศาลฎีกาที่ 4095/2559 คดีมีปัญหาตามอุทธรณ์ของโจทก์ว่า โจทก์มีสิทธิ

            เลิกจ้างนางสาว ว. และนาย น. เพราะเหตุลูกจ้างทั้งสองประมาทเลินเล่อทําให้โจทก์เสียหาย
                                                           ั
            อย่างร้ายแรงหรือไม่ โดยโจทก์อุทธรณ์ว่าการท่ลูกจ้างท้งสองทําสัญลักษณ์ธงไตรรงค์ในภาพยนตร์
                                                    ี
                                                              ี
                     ี
            โฆษณาท่ลูกค้าโจทก์รายกระทรวงกลาโหมว่าจ้างให้ผิดเพ้ยนไป จนเป็นเหตุให้กระทรวงกลาโหม
            ไม่รับมอบงานนั้น เป็นการกระทําประมาทเลินเล่อทําให้โจทก์ได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
                                                                               ี
                                                      ื
                                                                 ี
            โจทก์จึงมีสิทธิเลิกจ้างลูกจ้างท้งสองได้แล้วน้น เม่อข้อเท็จจริงท่ฟังยุติภายหลังท่กระทรวงกลาโหม
                                                  ั
                                      ั
            ไม่ยอมรับมอบงานภาพยนตร์โฆษณาทลูกจ้างท้งสองทํา นาย ร. กรรมการผู้มีอํานาจกระทําการ
                                              ี
                                              ่
                                                      ั
            แทนโจทก์ เรียกลูกจ้างทั้งสองมาตักเตือนและแจ้งให้ทราบถึงความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยนาย ร.
            ไม่ได้ลงโทษลูกจ้างทงสองในทันที เหนว่า การกระทําของนาย ร. ดังกล่าวท่ไม่ลงโทษลูกจ้าง
                                                                                ี
                              ั
                                             ็
                              ้
                                                                               ึ
                          ั
            ท้งสองในทันทีน้น ย่อมแสดงให้เห็นว่านาย ร. มิได้ประสงค์จะยกเหตุดังกล่าวข้นเป็นเหตุสําคัญท ่ ี
              ั
                                                                                   ื
            จะเลิกจ้างลูกจ้างท้งสอง แต่ได้ให้โอกาสแก่ลูกจ้างท้งสองในการปรับปรุงตัว และเม่อครบกําหนด
                                                        ั
                             ั
                                       ั
                                                                        ี
            หน่งเดือนโจทก์เห็นว่าลูกจ้างท้งสองไม่สามารถทําผลงานได้จนเป็นท่น่าพอใจ โจทก์จึงเลิกจ้าง
               ึ
                                           ้
                                           ั
                                                                                             ื
                                    ู
                                                                                      ั
                                                             ี
                                                                                        ้
                                                                                             ่
                                                                                        ั
                                   ี
                    ้
                                  ุ
                    ั
            ลกจ้างทงสองเพราะเหตทลกจ้างทงสองขาดความละเอยดรอบคอบในการทํางาน ดงนน เมอ
              ู
                                   ่
                                ี
            ไม่ปรากฏข้อเท็จจริงท่ชัดเจนว่าลูกจ้างท้งสองทํางานจนเป็นเหตุให้โจทก์เสียหาย หรือขาดความ
                                               ั
                                                                 ั
                                                       ี
            ละเอียดรอบคอบอย่างไรอีก ข้อต่อสู้ของโจทก์ท่ว่าลูกจ้างท้งสองประมาทเลินเล่อทําให้โจทก์
                                  ิ
            เสียหายอย่างร้ายแรงจึงส้นสุดไปแล้ว โจทก์จึงไม่มีสิทธิยกเหตุเดิมท่มิได้ประสงค์จะเลิกจ้างลูกจ้าง
                                                                     ี
            ทั้งสองแล้วในครั้งแรกขึ้นเป็นเหตุในการเลิกจ้างในครั้งหลังอีกได้
                    คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 5615/2537 การลากิจตามเอกสารหมาย ร.16 ของผู้คัดค้านน้น
                                        ี
                                                                                             ั
                     �
                                                                                         ึ
            ผู้ร้องมิได้บรรยายหรือกล่าวไว้ในคําร้องว่าผู้คัดค้านได้ขาดงานโดยฝ่าฝืนระเบียบการลาซ่งผู้ร้อง
            ไม่ได้ประสงค์ให้ลงโทษ การท่ศาลแรงงานนํามาฟังเป็นโทษแก่ผู้คัดค้านจึงเป็นการไม่ชอบ
                                        ี
            ส่วนเอกสารหมาย ร.21 เป็นการลากิจ ซ่งผู้คัดค้านได้ย่นใบลาล่วงหน้าจึงไม่ผิดระเบียบ
                                                   ึ
                                                                 ื
            ข้อบังคับเกี่ยวกับการทํางานของผู้ร้อง แต่เป็นการลาเกินกําหนด 4 วัน เป็นกรณีไม่ได้รับค่าจ้าง
            ตามระเบียบข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานซ่งผู้ร้องก็ไม่ได้อนุมัติการลา แต่ผู้ร้องได้หมายเหตุไว้ว่า
                                 ี
                                                 ึ
                    ี
            ในกรณีน้ผู้จัดการบุคคลได้เรียกผู้คัดค้านมาว่ากล่าวตักเตือนให้นําไปปรับปรุง ผู้คัดค้านรับปากว่า
                     ั
                                     ึ
                                   ี
                                                                        ื
                                 ั
            ขอเป็นคร้งสุดท้ายในคร้งน้ ซ่งหากมีอีกจะยอมถือเป็นขาดงานและลงช่อผู้จัดการไว้ ตามข้อความ
            ดังกล่าวผู้ร้องไม่ติดใจเอาโทษแก่ผู้คัดค้านและไม่ถือว่าเป็นความผดแล้ว ผู้ร้องจะนําการลากิจ
                                                                      ิ
            ครั้งนี้มากล่าวโทษผู้คัดค้านอีกหาได้ไม่ ผู้คัดค้านจึงมิได้กระทําผิดซาคําเตือน
                                                                      ํ
                                                                      ้
            328
   325   326   327   328   329   330   331   332   333   334   335