Page 328 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 328
วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ
ํ
้
ั
23
ื
ได้กระทําความผิดในเร่องหรือฐานเดียวกัน กับท่นายจ้างเคยออกหนังสือเตือนน้นซาอีก และ
ี
24
ื
ั
ี
แม้ลูกจ้างจะย้ายไปทํางานในแผนกอ่นแล้วก็ตาม อีกท้งหนังสือเตือนท่ออกในคร้งแรกน้จะต้อง
ั
ี
25
ชอบด้วยกฎหมายด้วย นายจ้างจึงจะเลิกจ้างลูกจ้างนั้นได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
26
นอกจากน้ แม้ข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานจะไม่ได้ระบุไว้โดยตรงว่าการกระทําใดเป็น
ี
ี
ั
ี
ความผิด แต่ก็อาจถือว่าผิดข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําส่ง ของนายจ้างได้ โดยต้อง
ั
ี
พิจารณาข้อเท็จจริงในแต่ละคดีไป ท้งน้เน่องจากความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างตาม
ื
ี
ั
สัญญาจ้างแรงงาน นอกจากลูกจ้างมีหน้าท่ทํางานตามคําส่งของนายจ้างแล้ว ลูกจ้างยังม ี
หน้าท่งดเว้นไม่กระทําการใด ๆ ท่ไม่สมควรแก่การปฏิบัติหน้าท่ของตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้องและ
ี
ี
ี
สุจริต โดยถือเป็นหน้าที่ตามกฎหมายตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 583 ซึ่งมี
ื
สาระสําคัญว่า หากลูกจ้างทําประการอ่นอันไม่สมควรแก่การปฏิบัติหน้าท่ของตนให้ลุล่วงไปโดย
ี
27
ถูกต้องและสุจริต นายจ้างอาจจะไล่ออกได้โดยมิพักต้องบอกกล่าวล่วงหน้า ดังนั้น ลูกจ้างจึง
ี
ี
มีหน้าท่ในการทําประการใดอันสมควรแก่การปฏิบัติหน้าท่ของลูกจ้างให้ลุล่วงไปโดยถูกต้องและ
ี
ี
สุจริตต่อนายจ้างด้วย โดยเป็นหน้าท่ท่เกิดข้นตามมาโดยผลของการตกลงทําสัญญาจ้างแรงงาน
ึ
ื
(legal incidents) อันถือว่าเป็นข้อตกลงในเบ้องต้น (as a default term) ระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง
โดยเป็นการต่างตอบแทนระหว่างกันโดยถือว่าเป็นข้อตกลงโดยนัย (implied terms) แม้จะไม่
ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรในสัญญาจ้างแรงงานหรือข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานก็ถือว่าเป็น
ี
ส่วนหนึ่งของข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง (Terms of Employment and Working Conditions)
ี
ู
ี
่
ด้วย โดยลูกจ้างมภาระผกพัน (obligations) หรือหน้าท (duties) ท่จะต้องเชอฟังคาสง (obedience)
ื
่
ํ
ั
ี
่
ให้ความร่วมมือ (co-operation) ความจงรักภักดี (fidelity) ซื่อสัตย์ (faithfully) การดูแลเอาใจใส่
ั
ั
(care) ความไว้วางใจและความม่นใจร่วมกัน (mutual trust and confidence) ท้งน้ในส่วนขอบเขต
ี
ี
รายละเอียดของภาระผูกพันหรือหน้าท่ในแต่ละด้านนั้นให้พิจารณาจากขนบธรรมเนียมประเพณ ี
28
ทางปฏิบัติ หรือข้อตกลงร่วมกัน (implied from custom and practice or collective agreements)
ี
โดยเฉพาะลูกจ้างมีหน้าท่โดยปริยายท่จะต้องไม่ประกอบธุรกิจเป็นอย่างเดียวกันและเป็นการ
ี
23 อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษที่ 9018/2562
24 อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 1352/2542
25 อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 3456/2549
26 อ้างอิงคําวินิจฉัยโดยเทียบเคียงคําพิพากษาศาลฎีกาที่ 4015/2561
27 พงษ์รัตน์ เครือกล่น, คําอธิบายกฎหมายแรงงานเพ่อการบริหารทรัพยากรมนุษย์, พิมพ์คร้งท่ 11 (กรุงเทพมหานคร:
ื
ิ
ั
ี
สํานักพิมพ์นิติธรรม, 2561), น. 62-63.
28 Simon Deakin and Gillian S Morris, Labour Law, fifth edition (Oxford and Portland, Oregon: Hart Publishing,
2009), pp. 217-218.
326