Page 324 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 324

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




            ผู้เสพและได้เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดตามกฎหมายก็ตาม แต่ก็เป็นผลเสียหาย
                                                                               ี
                                              ี
            ต่อองค์กรอันเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานของจําเลยในกรณีท่ร้ายแรง จําเลยจึง
            เลิกจ้างโจทก์ได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา
            119 (4)

                                          �
                    แม้จะมิใช่เป็นการกระทาความผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง แต่ถือว่าเป็นการ
            กระท�าความผิดอาญาในระหว่างการท�างาน ย่อมกระทบต่อความน่าเชื่อถือของนายจ้าง

                                                        ี
                                        ี
                    คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 5170/2545 การท่โจทก์รับซื้อสลากกินรวบในระหว่างการทํางาน
                     �
            เป็นการกระทําผิดอาญา แม้จะมิใช่เป็นการกระทําผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง แต่ก็เป็นการ
            กระทําผิดอาญาในระหว่างการทํางาน โดยเฉพาะอย่างย่งโจทก์เป็นผู้ช่วยผู้จัดการสาขาของ
                                                               ิ
            ธนาคารจําเลยอันเป็นสถาบันการเงิน ย่อมกระทบต่อความเช่อถือของลูกค้าท่มีต่อธนาคารจําเลย
                                                                ื
                                                                              ี
                ั
            อีกท้งการเล่นพนันเป็นบ่อเกิดแห่งอาชญากรรม และทําให้ผลงานของโจทก์ลดน้อยลง การกระทํา
            ของโจทก์จึงเป็นการฝ่าฝืนระเบียบข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานอันชอบด้วยกฎหมายและ
                                                       ี
                                        ี
            เป็นธรรมของจําเลยในกรณีท่ร้ายแรงตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน  พ.ศ.  2541
            มาตรา 119 (4) จําเลยจึงเลิกจ้างโจทก์ได้โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

                    การกระท�าผิดของลูกจ้างเป็นกรณีที่ร้ายแรงหรือไม่ ต้องพิเคราะห์ถึงปัจจัยต่าง ๆ

            ประกอบกัน
                                        ่
                                                                                  ี
                                        ี
                                                               ิ
                                                            ํ
                     �
                                                                                  ่
                    คาพิพากษาศาลฎีกาท 15077/2555 การกระทาผดของลูกจ้างเป็นกรณีทร้ายแรงหรือไม    ่
            ต้องพิเคราะห์ถึงปัจจัยต่าง ๆ ประกอบกันหลายประการ อาทิ ตําแหน่งหน้าท่การงานของลูกจ้าง
                                                                              ี
                                                                                 ึ
            ลักษณะและพฤติการณ์การกระทําความผิดของลูกจ้าง ตลอดจนผลเสียหายท่เกิดข้นจากการกระทํา
                                                                            ี
            ความผิดว่ามีมากน้อยเพียงใด
                    พนักงานตรวจสอบคุณภาพสินค้า เป็นตาแหน่งหน้าท่สาคัญอันเก่ยวกับสินค้าหรือ
                                                        �
                                                                      �
                                                                    ี
                                                                               ี
                                                                ี
            ผลิตภัณฑ์ในกิจการของนายจ้าง การเข้ามาปฏิบัติหน้าท่ด้วยอาการเมาสุราเป็นการฝ่าฝืน
            ระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการท�างานกรณีร้ายแรง
                                        ี
                    คาพิพากษาศาลฎีกาท่ 2561/2552 ตามระเบียบข้อบังคับเก่ยวกับการทํางานของจําเลย
                     �
                                                                       ี
            ข้อ 8 (15) ระบุให้จําเลยเลิกจ้างลูกจ้างได้โดยไม่ต้องตักเตือนก่อนเพราะถือว่าเป็นความผิด
                                                 ื
                                                         ื
            ร้ายแรงและไม่จ่ายค่าชดเชยหากลูกจ้าง “ด่มสุราเคร่องดองของเมาในท่ทําการหรือบริเวณบริษัท
                                                                         ี
                                      ั
                                             ี
            ในเวลาทํางานหรือเข้ามาปฏิบติหน้าท่ด้วยความมึนเมา” ท้งโจทก์ทํางานในตําแหน่งผู้ชํานาญงาน
                                                              ั
                                                                               ึ
                                                                                         ี
            มีหน้าท่ตรวจสอบคุณสมบัติของแบตเตอร่และแผ่นธาตุท่ใช้ผลิตแบตเตอร่ซ่งเป็นหน้าท่สําคัญ
                                                  ี
                                                                             ี
                   ี
                                                               ี
            เกี่ยวกับการตรวจสอบคุณภาพของแบตเตอรี่อันเป็นสินค้าที่จําเลยผลิต การเข้ามาปฏิบัติหน้าที่
            322
   319   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329