Page 320 - วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชํานัญพิเศษ
P. 320

วารสารกฎหมาย ศาลอุทธรณ์คดีชำานัญพิเศษ




                    (3) ประมาทเลินเล่อเป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
                                       ี
                    (4) ฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยวกับการทํางาน ระเบียบ หรือคําสั่งของนายจ้างอันชอบด้วย
            กฎหมายและเป็นธรรม และนายจ้างได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีที่ร้ายแรง นายจ้าง
            ไม่จําเป็นต้องตักเตือน

                    หนังสือเตือนให้มีผลบังคับได้ไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่ลูกจ้างได้กระทําผิด

                                  ี
                           ิ
                    (5) ละท้งหน้าท่เป็นเวลาสามวันทํางานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดค่นหรือไม่ก็ตาม
                                                                                 ั
            โดยไม่มีเหตุอันสมควร
                    (6) ได้รับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดให้จําคุก

                    ในกรณี (6) ถ้าเป็นความผิดที่ได้กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษต้องเป็นกรณี
            ที่เป็นเหตุให้นายจ้างได้รับความเสียหาย

                    การเลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยตามวรรคหน่ง ถ้านายจ้างไม่ได้ระบุข้อเท็จจริงอันเป็น
                                                           ึ
                                                                    ี
            เหตุท่เลิกจ้างไว้ในหนังสือบอกเลิกสัญญาจ้างหรือไม่ได้แจ้งเหตุท่เลิกจ้างให้ลูกจ้างทราบในขณะ
                 ี
            ที่เลิกจ้างนายจ้างจะยกเหตุนั้นขึ้นอ้างในภายหลังไม่ได้”
                                                                            ึ
                    จากบทบัญญัติข้างต้น สามารถสรุปเหตุหรือความผิดของลูกจ้างซ่งเป็นข้อยกเว้นในการ
            จ่ายค่าชดเชยของลูกจ้างได้เป็น 2 ประเภท คือ

                    ประเภทที่ 1 เป็นเหตุหรือความผิดของลูกจ้าง ซึ่งเมื่อมีขึ้นแล้วนายจ้างสามารถเลิกจ้าง
                                                                ี
                                                                ่
                                                                                   ี
                     ั
                    ู้
            ลูกจ้างผน้นได้ทันทีโดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย ได้แก่ ในกรณีทลูกจ้างทุจริตต่อหน้าท่ กระทําความ
            ผิดอาญาโดยเจตนาแก่นายจ้าง จงใจทําให้นายจ้างได้รับความเสียหาย ประมาทเลินเล่อเป็นเหต  ุ
                                                          ิ
            ให้นายจ้างได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง ละท้งหน้าท่เป็นเวลาสามวันทํางานติดต่อกัน
                                                                 ี
                                              ี
                                                                                    ี
            โดยไม่มีเหตุอันสมควร และในกรณีท่ลูกจ้างได้รับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงท่สุดให้จําคุก
            โดยถ้าเป็นความผดท่ได้กระทาโดยประมาทหรอความผดลหโทษต้องเป็นกรณทเป็นเหตให้
                                                                   ุ
                                                               ิ
                                                       ื
                                                                                     ่
                                                                                     ี
                                                                                            ุ
                             ิ
                                                                                   ี
                                       ํ
                                ี
            นายจ้างได้รับความเสียหายด้วย ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 119
            (1) (2) (3) (5) และ (6)
                    ประเภทที่ 2 เป็นเหตุหรือความผิดของลูกจ้าง ในกรณีของการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับ
                                                                                      ึ
            การทํางาน ระเบียบ หรือคําส่งของนายจ้าง อันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม ซ่งพิจารณา
                                       ั
            แยกเป็น 2 กรณี คือ
                                                      ี
                    1) กรณีเป็นความผิดร้ายแรง หรือกรณีท่ร้ายแรง นายจ้างสามารถเลิกจ้างลูกจ้างได้ทันท ี
            โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย
            318
   315   316   317   318   319   320   321   322   323   324   325