Page 121 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 121

´ØžÒË





              การสืบสวนสอบสวนในขณะเดียวกันก็หมายถึงการรุกลํ้าอยางรายแรงที่เขามาในขอ

              สันนิษฐานที่วาผูถูกกลาวหาเปนผูบริสุทธิ์ตราบเทาที่ยังไมมีคําพิพากษาของคดีถึงที่สุดวา
              ผูถูกกลาวหาไดกระทําความผิดซึ่งถือเปนหลักที่ไดรับการบัญญัติไวในหลักนิติรัฐ

              จากผลกระทบในทางลบที่มีตอสิทธิขั้นพื้นฐานทั้งสองประการดังกลาว การขังในระหวาง
              การสืบสวนสอบสวนจึงถูกจัดวาเปนมาตรการบังคับที่มีความรุนแรงที่สุดในบรรดามาตรการ

              บังคับที่มีอยูในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่เปนไปตามหลักนิติรัฐ

                       ความขัดแยงกันระหวางภารกิจของการขังในระหวางสืบสวนสอบสวนตาม

              ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาในดานหนึ่งและขอเรียกรองตามหลักนิติรัฐ
              ที่การขังในระหวางการสืบสวนสอบสวนเปนผลใหมีการกระทบตอสิทธิขั้นพื้นฐาน

              ในอีกดานหนึ่ง จากผลดังกลาว ในลําดับถัดไป ผูเขียนบทความนี้จึงจะแสดงใหเห็นถึง

              ตัวอยางของตัวบทกฎหมาย แนวคําพิพากษาของศาลสูงและทางปฏิบัติในกระบวนการ
              ยุติธรรมของระบบกฎหมายเยอรมัน


                       จุดเริ่มตนของขอสังเกตก็คือแมวาการรองขอใหมีการขังในระหวางการสืบสวน
              สอบสวนจะเปนการกระทบตอสิทธิขั้นพื้นฐานอยางมากดังที่จะเห็นไดจากผลกระทบ

              ที่เกิดแกทั้งเสรีภาพที่เปนผลมาจากการขังดังกลาวและการกระทบตอหลักในเรื่อง
              ขอสันนิษฐานวาเปนผูบริสุทธิ์ก็ตาม และแมวากฎหมายจะวางเงื่อนไขของการขังในระหวาง

              การสืบสวนสอบสวนไวคอนขางเครงครัดก็ตาม ในประเทศเยอรมัน การรองขอใหขัง
              ระหวางการสืบสวนสอบสวนก็ถือไดวาเปนเครื่องมือหลักของกระบวนการพิจารณาคดีอาญา

              ที่เมื่อเปรียบเทียบกับกรณีอื่นๆ แลวตองถือวาถูกใชอยูบอยๆ ในระหวางป ๑๙๙๒ – ๑๙๙๗
              ในศาลจังหวัดที่ทําหนาที่เปนศาลพิจารณาคดีในชั้นตน ไดมีการรองขอใหมีการออกหมายจับ

              เพื่อใหมีการขังในระหวางการสืบสวนสอบสวนมากกวา ๘๐% ของคดีที่เกิดขึ้น


                       จากสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลาวทําใหเห็นไดชัดวา การขังในระหวางการสืบสวนสอบสวน
              ไมไดถูกนํามาใชเฉพาะในความผิดอาญาที่มีความรายแรงอยางในกรณีของความผิดตอชีวิต

              และรางกายเทานั้น แตถูกนํามาใชแทบจะในทุกๆ ฐานความผิด ในป ๒๐๑๑ ประมาณ ๒๙%
              ของผูที่ถูกขังระหวางสืบสวนสอบสวนเปนผูตองสงสัยในความผิดฐานลักทรัพยและยักยอก

              ทรัพย ซึ่งถือไดวาเปนกลุมของความผิดที่ใหญที่สุดและตามมาดวยการกระทําความผิดตอ
              พระราชบัญญัติวาดวยยาเสพติด ที่มีผูตองขังในระหวางสืบสวนสอบสวนประมาณ ๒๑%






              ๑๑๐                                                             เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126