Page 119 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 119

´ØžÒË





              ที่ไดชื่อวาเปนคดีพาณิชยมีความรวดเร็ว ความแนนอน ในการตีความและใชกฎหมาย
              ที่เกี่ยวของ  ในกรณีที่ไมวาศาลยุติธรรมจะตัดสินใจเดินไปทางใด จําเปนตองคํานึงถึงโครงสราง

              ของแผนกทั้งสามชั้นศาลหรือไม ตองพิจารณากรณีจํานวนคดีที่มีในปจจุบันหรือคาดวาจะมี
              ในคํานิยามของคดีพาณิชยหรือไม จําเปนตองคํานึงถึงระบบการโยกยายการดํารงตําแหนงตางๆ

              ของผูพิพากษาของไทยหรือไม ในปจจุบันการพิจารณาพิพากษาคดีมีปญหาลาชาหรือไม
              ในภาพรวมหรือเมื่อพยายามวิเคราะหลงไปในคดีที่นาจะเปนคดีพาณิชย ซึ่งในสวนนี้อาจ

              สัมพันธกับในประเด็นเรื่องกําหนดระยะเวลามาตรฐานในการพิจารณาพิพากษาคดีที่กลาวไป
              กอนหนาดวยเชนกัน หากพิจารณาปจจัยทั้งหมดอาจชวยใหหาคําตอบวาในเรื่องคดีพาณิชย

              ศาลควรเดินไปอยางไร

                       ระบบการจายสํานวนอัตโนมัติ (Assignment of cases) เนื่องจากธนาคารโลก

              เชื่อวาการใชระบบทําใหตัวความหรือทนายความจะไมสามารถมีอิทธิพลเหนือการจาย

              สํานวน สําหรับการประเมินในปจจุบัน ศาลยุติธรรมไทยไดคะแนน ๐.๕ จาก ๑ เนื่องจาก
              เชื่อวาการจายสํานวนปจจุบันเปนระบบสุมจริงแตใชมือจาย (Random but manually)

              ที่นาคิดคือศาลยุติธรรมมีปญหาในจุดนี้หรือไม จากการศึกษาในบางศาลนั้นมีระบบจาย
              สํานวนอัตโนมัติแตไมใช ถาศาลยุติธรรมไมมีปญหาเรื่องความโปรงใส แลวตองมีระบบจาย

              สํานวนอิเล็กทรอนิกสหรือไม หรือจายมือก็ไมไดมีปญหาอะไร แลวควรจะทําหรือไม ทิศทาง
              จะเปนอยางไรในอนาคต


                       เมื่อตางชาติหรือรัฐบาลมาขอดูระบบการทํางานของศาล มาเคาะประตู โดยสวนตัว

              เห็นวาการเปดประตูบานตอนรับนาจะเปนการสงสัญญาณที่ดี สื่อสารและใสใจกับคนภายนอก

              เพื่อประโยชนของประชาชนและสังคม การไดพิจารณาแนวทางหรือวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดจาก
              ธนาคารโลกอาจจะเปนอีกสิ่งหนึ่งเพื่อใหเราพิจารณาวาโลกไปถึงไหน มาตรฐานสากล

              และแนวทางในการพัฒนาเปนอยางไร แตไมไดหมายความวาจะตองทําตามไปเสียทุกอยาง
              หากระบบหรือแนวคิดที่ไมเขากับบริบทของการอํานวยความยุติธรรมของประเทศไทย

              หรือไมไดมีประโยชนกับประชาชนหรือการทํางานของศาล ก็ไมมีความจําเปนตองปฏิบัติ
              แตตองสามารถอธิบายสื่อสารใหเขาใจไดถึงเหตุผลของการปฏิเสธดวยเชนกัน












              ๑๐๘                                                             เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124