Page 21 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 21

´ØžÒË





              เมื่อป ๒๕๔๐ เราก็มีแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองพิจารณาคดีทุจริต

              ของนักการเมืองและรํ่ารวยผิดปกติ ป ๒๕๕๐ รัฐธรรมนูญเพิ่มภาระเรื่องพิจารณาคดีการยื่น
              บัญชีทรัพยสิน ทําไมศาลฎีกาแผนกคดีอาญาฯ ตองพิจารณาเรื่องนี้เพราะเดิมเปนของ

              ศาลรัฐธรรมนูญแตเกิดคดีเรื่องบกพรองโดยสุจริตครั้งเดียว คดีจงใจไมยื่นบัญชีทรัพยสิน
              มาอยูกับศาลฎีกาคดีอาญานักการเมือง ป ๒๕๖๐ ในเรื่องประเภทคดีอาญาของศาลฎีกา

              นักการเมืองก็ยังคงเดิมไมเปลี่ยนแปลง คดีอาญานักการเมืององคคณะ ๙ คน คดีปกติ ๓ คน
              คดีเลือกตั้งระดับชาติรัฐธรรมนูญกําหนดใหอยูในอํานาจศาลฎีกา ถาเลือกตั้งทองถิ่นไปศาล

              อุทธรณ คดีเลือกตั้งเดิมไปศาลชั้นตนกวาจะขึ้นศาลสูงก็หมดวาระเลือกตั้งใหมแลว ผูราง

              รัฐธรรมนูญเห็นวาชาไปจึงใหศาลฎีกาทํา รัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐ ก็ตั้ง กกต. จัดการการเลือกตั้ง
              มีอํานาจออกใบเหลืองใบแดง แตก็ใหฝายตุลาการตรวจสอบอีกก็มีภารกิจเพิ่มขึ้นมา

              ป ๒๕๖๐ มีคดีฝาฝนมาตรฐานทางจริยธรรม คือ ป ๒๕๔๐, ๒๕๕๐ มีเรื่องการถอดถอน
              แตการถอดถอนนักการเมืองไมเคยสําเร็จ คนรางจึงทําใหเปนมาตรการทางกฎหมายไมใช

              ทางการเมือง แตใชวาถอดถอนก็ไมไดเพราะวาจะกลายเปนมาตรการทางการเมืองจึงเปนราง

              มาตรฐานทางจริยธรรมขึ้นมา ศาลรัฐธรรมนูญเปนแมงานรางรวมกับองคกรอิสระ สุดทาย
              มาตรฐานทางจริยธรรมก็เกิดขึ้นเพราะคดีนี้จะมาสูศาลฎีกา ตอนนี้ก็กําลังจัดทําวิธีพิจารณา

              คดีมาตรฐานทางจริยธรรมนี้อยู อาจเรียกวาเปน Judicialization of Politics คือเอาเรื่อง
              การเมืองมาใหศาลตัดสิน แตคนรางเขาเอามาใหศาลทํา แปลงโฉมจากถอดถอนมาเปน

              มาตรฐานทางจริยธรรมซึ่งตอนนี้ยังไมมีคดีแตใกลเลือกตั้งก็จะมี เมื่อเขาใหภารกิจมาแลว

              ใหมีวิธีพิจารณาแบบไตสวน เชน คดีอาญานักการเมือง คดีเลือกตั้ง คดีมาตรฐานจริยธรรม
              คดีอาญาทุจริต คดีคามนุษย เขาเขียนวาใชระบบไตสวนเริ่มจากรัฐธรรมนูญ ป ๒๕๔๐

              และเขียนวาใหใชสํานวนของ ปปช. เปนหลักซึ่งตอนนี้ก็ยังใชอยู ศาลตองใชระบบไตสวน
              และใหศาลเรียกพยานเอง อาจทําใหศาลถูกเรียกวาตุลาการภิวัฒน ศาลก็มีบทบาทมากขึ้น

              ปญหาคือความเขาใจของประชาชนเปนอยางไรที่ศาลไปเรียกพยานมาเพราะตองการลงโทษ

              จําเลยเพื่อพิสูจนความผิดจําเลย แตความจริงวาที่กลาวหากันพยานเขามันพอที่จะไปลงโทษ
              จําเลยไดหรือไม ฉะนั้น ความเขาใจของประชาชนก็สําคัญ คนเขียนก็กําหนดใหใชระบบ

              ไตสวนมา แตวาเมื่อทําไปแลวศาลตองมาทําความเขาใจกับประชาชนวาวิธีพิจารณาแบบไตสวน
              ใหความเปนธรรมแกทั้งสองฝายได  ฝายนั้นทนายไมเกงศาลก็เรียกพยานมาเพิ่มเติมได








              ๑๐                                                              เลมที่ ๑ ปที่ ๖๕
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26