Page 22 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 22

´ØÅ¾ÒË





                         พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผูดํารงตําแหนง

                 ทางการเมือง พ.ศ. ๒๕๖๐ มีบทบัญญัติใหฟองโดยไมตองมีจําเลยมาศาลตางจากคดีอาญา
                 ทั่วไปที่ตองนําตัวจําเลยมา สั่งใหแกไขเพิ่มเติมฟองไดตางจากประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา

                 ความอาญา ถาฟองไมเรียบรอยศาลตองใหแกฟองเสียกอน กับกรณีฟองแลวใหอายุความ
                 สะดุดหยุดลง และมีบทเฉพาะกาลวาไมกระทบตอคดีที่ยื่นฟองไวแลว ซึ่งใหอายุความสะดุด

                 หยุดลงจะมีคดีประเภทฟองชาและปลอยใหขาดอายุความที่ศาล มีคดีใหญมาขาดอายุความ
                 ที่ศาลแมแตคดีจงใจไมยื่นบัญชีทรัพยสินมาขาดอายุความ เพราะ ปปช. ตองดูแลองคกร

                 บริหารสวนทองถิ่นทั้งประเทศสงมาก็ปลอยใหขาดอายุความที่ศาล เลยเขียนวาถาฟองแลว

                 ใหอายุความสะดุดหยุดลงเขียนแบบนี้แตที่สุดศาลฎีกาตีความคือจะเขียนอยางไรก็ตาม
                 แตหลักการตีความศาลตองตีความตามหลักกฎหมายคือจะใชตอเมื่อการกระทําความผิดเกิดขึ้น

                 หลังจากที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญฉบับนี้ใชบังคับแลว ถาการกระทําความผิด
                 เกิดกอนที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ใชบังคับก็ตองใชอายุความตามกฎหมายเดิม

                 และศาลไตสวนลับหลังจําเลยไดซึ่งเปนเรื่องใหม อานคําพิพากษาโดยไมตองออกหมายจับกอน
                 ถาจําเลยหนีไปแลวศาลอานไดเลย และคําวินิจฉัยขององคคณะพิจารณาอุทธรณถือวา

                 เปนองคคณะของที่ประชุมใหญ คือใหโอกาสอุทธรณและที่ประชุมใหญก็ตองตั้งองคคณะ
                 พิจารณาอุทธรณ ที่ประชุมใหญศาลฎีกาตอนนี้ ๑๗๐ คน กฎหมายเขียนวาคําพิพากษา

                 ของ ๙ คน ถือเปนคําวินิจฉัยของที่ประชุมใหญ ศาลชั้นตนมีศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติ
                 มิชอบเปนศาลเรียกแขก ผูพิพากษาในศาลก็ถูกฟองที่ศาลนี้ และศาลชั้นตนสามัญ คดีคามนุษย

                 ใหใชระบบไตสวน


                         แนวทางที่เปลี่ยนไปศาลไมไดเรียกรองแตคนรางเห็นวาเรื่องนี้บกพรองก็ใหศาลทํา
                 ซึ่งศาลก็ปฏิเสธแลวโดยเฉพาะใหประธานศาลฎีกาเปนประธานกรรมการสรรหาแตเขาไมฟง

                 ซึ่งมีวิธีการใหมศาลก็ตองปรับตัวกลาวไดวามันเกิดจากกระแสกดดันและมีการปฏิรูปโดยใช
                 ศาลยุติธรรมเปนเครื่องมือการปฏิรูปเมื่อเขียนเปนกฎหมายแลวก็ตองทําแตเราก็ไมทิ้ง

                 หลักกฎหมายพื้นฐานของเรา


                         นายศุภกิจ แยมประชา คําอภิปรายของ ดร. จิรนิติ หะวานนท อาจสรุปไดวา

                 ในแงมิติการเมืองคือเขาใชศาลเปนเครื่องมือปฏิรูปการเมืองในเรื่องการดําเนินการการทุจริต
                 ของนักการเมือง เราไมคอยมีอํานาจตอรองนัก หนาที่ที่เพิ่มเขามาในรัฐธรรมนูญเปนสิ่งที่






                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                        ๑๑
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27