Page 20 - นิตยสารดุลพาห เล่มที่ ๑-๒๕๖๑-กฎหมายฯ
P. 20

´ØžÒË





                         สวนประเด็นเรื่องศาลชํานัญพิเศษเรื่องเล็ก แตทําไมการปฏิรูปจึงชูประเด็นนี้

                 คําตอบคือเราชาไป แมแตเรื่องเล็กยังตองใหเขามากําหนดใหทํา ฉะนั้น เรื่องศาลนี้ตองทําดวน
                 และทําไมยาก ทําไมเราถึงทําศาลอาญาคดีทุจริตและประพฤติมิชอบไดอยางฉับพลันทันที

                 ทําศาลลมละลายไดระหวาง ๖ - ๑๒ เดือน ศาลชํานัญพิเศษสามศาลไมยากโดยเฉพาะ
                 ศาลพาณิชยมันมีความจําเปนรองรับอยูนาน ก็ควรทําใหเขา งายสุดคือศาลพาณิชย ยากสุด

                 คือศาลจราจร ตรงกลางก็ไมงายแตถามีงานหรือคนผลักดันอยางจริงจังศาลสิ่งแวดลอมจําเปน
                 มีการยื้อยุดกันระหวางศาลปกครองกับศาลยุติธรรมตองชวยกันหาทางออกและวางระบบ

                 ก็จะเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว รอบแรกขอเนนเรื่องลดความเหลื่อมลํ้าใหกับสังคม ทําขอเท็จจริง

                 ใหตรงกับความจริง ใชกฎหมายใหยุติธรรม และทํางานเชิงรุกมากขึ้น โดยเฉพาะเทคโนโลยี
                 และวิทยาศาสตรศาลตองนํามาใชในทุกรูปแบบ  บรรทัดฐานศาลฎีกาทานตระหนักเรื่องนี้


                         ศาสตราจารย ดร. จิรนิติ หะวานนท  ผูพิพากษาหัวหนาคณะในศาลฎีกา

                         ผมจะพูดแคบลงมาในเรื่องบทบาทของศาลยุติธรรมในกระแสการปฏิรูป เมื่อมี
                 รัฐธรรมนูญป ๒๕๔๐ เรามีภารกิจเพิ่มขึ้นคือการจัดตั้งแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนง

                 ทางการเมืองในศาลฎีกา ซึ่งเปนภารกิจใหมมีคดีหลายคดี เกิดคําวาตุลาการภิวัฒน

                 Judicial Activism คือศาลจะเขาไปแกไขปญหาที่เกี่ยวกับตัวนักการเมืองที่เกี่ยวกับการทุจริต
                 ผูรางรัฐธรรมนูญเห็นวา ถาใหตั้งตนที่ศาลชั้นตนหรือศาลอุทธรณก็จะไมเห็นผลชัดเจน

                 จึงอยากจะจัดการกับนักการเมืองที่ทุจริต ศาลยุติธรรมเหมาะสมเราจึงเปนถูกมอบหมาย
                 ใหแกปญหาการทุจริต ตอมามีอีกคําซึ่งหนักกวาคือตุลาการธิปไตย Juristocracy มันเปน

                 กระแสโลกไมไดเกิดขึ้นในเมืองไทยจะเกิดในไทยหรือไมแตวามีคนนําคํานี้มาใชเรื่องเกี่ยวกับศาล
                 ประเทศใหมจะมีปญหาเรื่องกฎกติกาการเคารพกฎการบังคับใชกฎหมาย ซึ่งกระแสโลกจะเขามา

                 กดดันวาเราตองปรับกระบวนการการใชกฎหมายทั้งการบังคับใชกฎหมาย การพิจารณาคดี

                 ใหเขาสูมาตรฐานก็จะมีกระแสเขามาเรื่อง Rule of Law ซึ่งหลักนิติธรรมถูกนํามาใชเพื่อบอกวา
                 มาตรฐานของกฎหมายทั้งโลกมันควรอยูในกฎเกณฑอันหนึ่งที่สังคมประชาคมโลกเห็นวา

                 ใชไดเปนธรรมก็เปนกระแสกดดันเขามา คํานี้ก็มากดดันใหศาลและนักกฎหมายเห็นวา
                 Juris คือนักกฎหมายทั้งหมด แตนักวิชาการเอาบีบแคตุลาการ เขาจะบอกวาเปนนิติธิปไตย

                 เพื่อที่จะใหเราปรับมาตรฐานใหเขากับของโลก เราถูกกดกันใหทํา เชน ศาลทรัพยสินฯ
                 หรือกฎหมายฟอกเงินเราก็ตองมีกฎหมาย สวนเรื่องศาลฎีกาแคบลงมาในเรื่องรัฐธรรมนูญ






                 มกราคม - เมษายน ๒๕๖๑                                                         ๙
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25