Page 117 - Liver Diseases in Children
P. 117

�
                                                                                โรคท่อน้ำดีตีบตัน  107



              pthaigastro.org
             operation พบว่าหากระดับบิลิรูบินลดลงมากกว่า   จากผู้บริจาคที่สมองตาย (cadaveric liver donor)
             ร้อยละ 20 จะมีการพยากรณ์โรคที่ดี 7,8          และน�าตับมาจากญาติที่ยังมีชีวิตอยู่ (living-related
                  7. ประสบการณ์การผ่าตัดของสถาบันนั้น ๆ มี  liver donor)

             การศึกษาพบว่าในสถาบันที่มีการผ่าตัด  Kasai         ข้อบ่งช้ของการผ่าตัดปลูกถ่ายตับในผู้ป่วยโรค
                                                                      ี
             operation น้อยกว่า 5 รายต่อปี จะมีผลการรักษา  ท่อน�้าดีตีบตัน ได้แก่ หลังจากผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด
             ด้อยกว่าสถาบันที่ท�าการผ่าตัดมากกว่า 5 รายต่อปี 10   Kasai operation แล้วอาการเหลืองยังไม่ดีขึ้น และ

             อย่างไรก็ตามข้อสรุปนี้ก็ยังมีข้อถกเถียงกันอยู่  มีภาวะแทรกซ้อนของตับวายเร้อรัง เช่น เจริญเติบโตช้า
                                                                                   ื
                  8. จากการศึกษาของไพศาล เวชชพิพัฒน์       (growth retardation) หรือมีการติดเชื้อในท่อน�้าดีที่

             พบว่า ระดับของ serum TGF-beta1 และ epidermal   ต้องควบคุมด้วยยาปฏิชีวนะอยู่ตลอดเวลา เป็นต้น
                                ิ
                                  ึ
             growth  factor  ที่เพ่มข้นมีความสัมพันธ์กับการ
             พยากรณ์โรคที่ดี   ในขณะท่ระดับของ  serum      สรุป
                            11
                                       ี
             IL-18 และ E-selectin (ซึ่งเป็น serum marker ที่     โรคท่อน�าดีตีบตันเป็นโรคที่ท�าให้เกิดอาการตัว
                                                                       ้
                                     ิ
                                  ่
                                                  ั
                                                     ์
                                                      ั
                                                ั
                                     ่
                                       ึ
                                       ้
               ่
               ี
             เกยวของกบการอักเสบ) ทีเพมขนมีความสมพนธกบ      เหลืองในทารกที่ต้องได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้องโดยเร็ว
                      ั
                  ้
             การพยากรณ์โรคที่ไม่ดี 12,13                   การผ่าตัดรักษาโดยวิธี hepatic portoenterostomy
             บทบำทของกำรปลูกถ่ำยตับในผู้ป่วยโรค            เป็นวิธีรักษามาตรฐาน ผลการผ่าตัดขึ้นอยู่กับอายุที่
             ท่อน�้ำดีตีบตัน                               ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัด และสภาวะของตับว่ามีภาวะ
                                                           ตับแข็งแล้วหรือไม่ขณะผ่าตัด โรคท่อน�าดีตีบตันเป็น
                                                                                           ้
                  จากความก้าวหน้าทางเทคนิคการผ่าตัดและ
                                                                           ี
             การใช้ยากดภูมิคุ้มกัน ทาให้การปลูกถ่ายตับในเด็ก  โรคที่อาจมีการเปล่ยนแปลงของพยาธิสภาพของตับ
                                 �
                                                                                   ั
             ได้ผลเป็นท่น่าพอใจ ในผู้ป่วยเด็กทีได้รับการผ่าตัด  ไปเป็นโรคตับระยะสุดท้าย ดังน้นผู้ป่วยจะต้องได้รับการ
                                          ่
                      ี
             ปลูกถ่ายตับทั้งหมดพบว่ามีสัดส่วนของผู้ป่วยโรคท่อ  ติดตามดูแลรักษาไปตลอดชีวิต กุมารศัลยแพทย์เป็น
                                                                                              ้
                                                                 ึ
             น�้าดีตีบตันมากที่สุดถึงร้อยละ 50-80 อย่างไรก็ตาม  ส่วนหน่งของทีมในการรักษาผู้ป่วยโรคท่อน�าดีตีบตัน
                                                                      ั
                                                                                           ั
                                                                                             ุ
             การผ่าตัดปลูกถ่ายตับในเด็กยังมีปัญหาอยู่มากใน  โดยการดูแลรกษาแบบบูรณาการร่วมกบกมารแพทย   ์
                                                                                                 �
                         ั
             ประเทศไทย ท้งด้านการขาดแคลนผู้บริจาคอวัยวะ    โรคตับและศัลยแพทย์ปลูกถ่ายตับเป็นหัวใจสาคัญ
                                                                �
             ขนาดของตับที่เหมาะสม ในปัจจุบันจึงนิยมใช้วิธีตัด  ช่วยทาให้ได้ผลการรักษาที่ดีที่สุด หากการผ่าตัดโดยวิธ  ี
             เอาเฉพาะส่วน left lateral segment จากตับผู้ใหญ่  hepatic portoenterostomy ไม่ได้ผล การปลกถายตับ
                                                                                                 ่
                                                                                               ู
                             ึ
             มาปลูกถ่ายให้เด็ก ซ่งสามารถท�าได้ท้งแบบนาตับมา  เป็นทางเลือกสุดท้ายที่ใช้รักษาผู้ป่วยโรคนี้
                                                 �
                                           ั
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122