Page 15 - Liver Diseases in Children
P. 15

กายวิภาคและหน้าที่ของตับ   5




                                                                              ื
                                                                                 ื
                                       ิ
                                   ้
                  การสังเคราะห์กรดน�าดีเร่มเมื่อทารกในครรภ์  area) ตับถูกยึดด้วยเน้อเย่อเส้นใย (fibrous tissue)
             อายุ 5 สัปดาห์ พบการหลั่งน�้าดีในช่วงต้นไตรมาส  และหลอดเลือดด�าเฮพาติค peritoneal reflections
             ที่สอง การได้รับอาหารผ่านทางเดินอาหารช่วยกระตุ้น  ที่อยู่รอบ bare area ประกอบด้วย superior และ
                        ้
                                  ั
                                        ้
             การไหลของน�าดี การหล่งกรดน�าดี และระบบไหล     inferior coronary ligaments, right และ left
             เวียนล�าไส้-ตับ (enterohepatic circulation) พบระดับ  triangular ligaments ซึ่งยึดตับติดไว้กับกะบังลม
             γ-glutamyltransferase สูงได้ในทารกปกติในช่วง       อาจแบ่งส่วนของตับออกเป็น 4 กลีบ (lobe)
             อายุ 2-3 เดือนแรก ทารกแรกเกิดอาจมีตัวเหลือง   คือ ขวา ซ้าย caudate และ quadrate โดยทางด้าน
             ชนิด physiological jaundice เนื่องจากมีการสร้าง  หน้า falciform ligament แบ่งตับเป็นกลีบขวาและ


              ้
             น�าดีและเอนไซม์ UDP-glucuronyltransferase  ซ้าย ทางด้านล่างมีกลีบ quadrate เป็นต�าแหน่งของ
                                                  �
                                                                           ี
             ที่ยังพัฒนาไม่สมบูรณ์  ภาวะเกิดก่อนกาหนด   แอ่งส�าหรบถุงน�าด (gallbladder fossa), porta
                                                                    ั
                                                                         ้
             ขาดออกซิเจน ติดเชื้อในกระแสเลือด การได้รับยา  hepatis และ ligamentum teres hepatis ส่วนกลีบ
             หรืออาหารทางหลอดเลือดด�าอาจทาให้เกิดตัวเหลือง  caudate อยู่ระหว่าง inferior vena cava groove,
                                         �
             ชนิดน�้าดีคั่งหรือตับอักเสบ                   porta hepatis และ ligamentum venosum fissure
                                                                                                     9
                  ทารกเกิดครบก�าหนดมีไกลโคเจนสะสมในตับ
               pthaigastro.org
                                                                         ้
                                                                         ี
                                                           แต่การแบ่งวิธีนไม่ใช่การแบ่งตับเป็น functional
             มากกว่าผู้ใหญ่ได้ถึง 3 เท่า แต่จะใช้หมดไปอย่าง  lobes ที่แท้จริง จึงมักนิยมแบ่งตามการจ�าแนกของ
                                                  ้
                                       ี
             รวดเร็ว  ท�าให้ทารกมีความเส่ยงต่อภาวะน�าตาล  Couinaud  ซึ่งแบ่งตามแขนงของหลอดเลือดด�า
             ต�่าในเลือดถ้าไม่ได้รับอาหารเพียงพอ           พอร์ทัลและเฮพาติคได้เป็น 8 ส่วน  โดยมีหลอดเลือด
                                                                                      10
                  เลือดทไปหล่อเลี้ยงตับจากหลอดเลือดด�า     และท่อน�าดในแต่ละส่วนเองซ่งแยกจากส่วนอื่น ๆ
                        ่
                        ี
                                                                   ้
                                                                     ี
                                                                                     ึ
             พอร์ทัลอาจน�าแบคทีเรียไปสู่ตับของทารก  ท�าให้  (รูปที่ 1.3) การแบ่งส่วนของตับแบบนี้มีประโยชน์
             ทารกมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ                ส�าหรับการผ่าตัดตับ และปลูกถ่ายตับ 11
                               1
             กำยวิภำคของตับ                                ระบบหลอดเลือดของตับ
                  ตับอยู่บริเวณช่องท้องส่วนบนด้านขวา ขนาด       ตับเป็นอวัยวะที่มี dual blood supply คือ รับเลือด
             ของตับจากการเคาะเมื่อวัดที่เส้นกึ่งกลางกระดูก  จากหลอดเลือดแดงเฮพาติค (HA) และหลอดเลือด

             ไหปลาร้า  (midclavicular line) ในเด็กอายุต�่ากว่า  ด�าพอร์ทัล (PV) โดยเลือดประมาณร้อยละ 30 มาจาก
             1 ปีเท่ากับ 4-5 ซม. เด็กอายุ 1-5 ปีเท่ากับ 6-7 ซม.  HA ที่มีออกซิเจนสูง และอีกร้อยละ 70 มาจาก PV
             และเด็กอายุ 5-12 ปีเท่ากับ 8-9 ซม. ในทารกปกติ  สวนออกซิเจนที่ตับได้รับมาจาก PV ร้อยละ 40 และ
                                                            ่
                                                                                            12
                   �
             อาจคลาตับบริเวณใต้ชายโครงได้ หรืออาจคลาพบ     มาจากหลอดเลือดแดงเฮพาติคร้อยละ 60  เลือดจาก
                                                   �
             กลีบตับด้านซ้าย  (left  lobe)  ได้ที่บริเวณลิ้นปี่   PV มีสารอาหารที่ถูกดูดซึมจากทางเดินอาหาร และ
                            ื
             ตับถูกคลุมด้วยเย่อบุช่องท้องส่วนผนัง (parietal  มีสารที่หลั่งจากตับอ่อน ล�าไส้ และม้ามรวมอยู่ด้วย
             peritoneum) ยกเว้นส่วนที่อยู่ติดกับกะบังลม (bare  เซลล์ตับจะเก็บสะสม metabolize และ biotransform
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20