Page 19 - Liver Diseases in Children
P. 19

กายวิภาคและหน้าที่ของตับ   9




                                                                       ี
             ระบบน�้ำเหลือง 18                             และมีส่วนเก่ยวข้องกับการเพ่มจ�านวนเซลล์ตับ
                                                                                      ิ
                                                                          ี
                                                                                      ี
                        ้
                  ระบบน�าเหลืองของตับแบ่งเป็นส่วนลึก (deep      ยังไม่เป็นท่ทราบแน่ชัดเก่ยวกับบทบาทของ
             part) และส่วนตื้น (superficial part) น�้าเหลืองใน  ระบบประสาทอัตโนมัติในการควบคุมเมแทบอลิซึม
             ตับถูกสร้างใน space of Disse และระบายเข้า     ในตับ การตัดประสาท (denervation) พาราซิมพาเทติก
                                                                                       ั
                                                                   ิ
             หลอดน�้าเหลืองบริเวณ portal tract             ท�าให้ฤทธ์ของอินซูลินในการยับย้งการสร้างกลูโคส
                  หลอดนาเหลืองส่วนลึกมีจุดเร่มต้นจาก       จากตับผิดปกติ แต่ในทางตรงกันข้ามพบว่าตับยัง
                         ้
                         �
                                               ิ
             เนื้อเยื่อเกี่ยวพันใน portal tract จากนั้นวิ่งคู่ไปกับ  ท�างานได้ถึงแม้จะถูกตัดประสาท เช่น ในตับที่ปลูกถ่าย
             แขนงของ HA และ PV ไปที่ขั้วตับ ส่วนหลอดน�้า   (liver graft)
             เหลืองส่วนตื้นที่ capsule ของตับอาจเทเข้าหลอด  จุลกำยวิภำค (microanatomy) ของตับ
                                                                                                     1
             น�้าเหลืองที่ขั้วตับหรือรอบ ๆ HV และ IVC หลังจาก  (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในบทที่ 4)
             นั้นจะเทเข้าสู่ thoracic duct 19
                                                                                  ึ
                                                                ตับมีหน้าที่ต่าง ๆ ซ่งต้องอาศัยเซลล์หลาย
             ระบบประสำท    20                              ประเภท (รูปที่ 1.5) เลือดที่มาเลี้ยง และการควบคุม
                                                           จากระบบประสาท เซลล์ต่าง ๆ ในตับประกอบด้วย
               pthaigastro.org                                                                      22
                  ตับถูกควบคุมด้วยระบบประสาทอัตโนมัติ
                                                                          ื
             ได้แก่ เส้นใยประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nerve      1. เซลล์เน้อแท้ (parenchymal cells) คือ
             fibers) จาก celiac ganglia และพาราซิมพาเทติก   เซลล์ตับ  เป็นเซลล์ที่พบมากที่สุดในตับ  มีขนาด
             (parasympathetic)  จากเส้นประสาท  vagus       ประมาณ 25 ไมครอน ภายในเซลล์ตับมีอวัยวะเซลล์

             เส้นใยประสาทซิมพาเทติกจะเล้ยง perivascular    (organelles) จ�านวนมาก เช่น อาจมี 1,000 ไมโทคอนเดรีย
                                        ี
                                         ั
             plexus รอบ ๆ หลอดเลือดบริเวณข้วตับไปถึง space   ต่อหนึ่งเซลล์ และมี endoplasmic reticulum,
             of Disse โดยเส้นประสาทส่วนปลายจะอยู่ล้อมรอบ   Golgi complex จ�านวนมากเพื่อใช้ในการสังเคราะห์

             stellate cells และเซลล์ตับ ส่วนระบบประสาท     โปรตีน ในเซลล์ตับยังมีไกลโคเจนสะสมอยู่อีกด้วย
             พาราซิมพาเทติกมีเซลล์ปมประสาท (ganglion cells)        ผนังเซลล์ตับมีสามโดเมน (domain) ได้แก่

             อยู่ใกล้กับตับ  เส้นใยประสาทมีลักษณะเป็นข่าย       - Lateral domain เป็นส่วนที่อยู่ชิดกับเซลล์
             ล้อมรอบ HA และ PV แต่มีประสาทพาราซิมพาเทติก   ตับข้างเคียงโดยมี gap junctions กั้นไว้
             ไปเลี้ยงส่วนที่ไกลกว่า portal tract น้อย           - Sinusoidal (basolateral) membrane

                  Gap junctions ช่วยท�าให้เกิด electrical  เป็นส่วนที่เซลล์ตับอยู่ชิดกับ sinusoid  ซึ่งบุด้วย
             coupling ระหว่างเซลล์ตับได้โดยตรง เซลล์ตับจึงมี  เอนโดทีเลียม (endothelium) ที่มีรู (fenestrae)

             เส้นประสาทไปเลี้ยงน้อยมาก การกระตุ้น cholinergic  ช่วยให้สารต่าง ๆ เคลื่อนผ่านได้สะดวก นอกจากนี้
             จะเพ่มเมแทบอลิซึมของสารต่าง  ๆ  และกระตุ้น  เอนโดทีเลียมของ sinusoid ยังไม่มี basement
                 ิ
             hepatic progenitor cells  ส่วนการกระตุ้น adrenergic  membrane  จึงท�าให้การแลกเปล่ยนสารต่าง  ๆ
                                21
                                                                                         ี
                 ิ
             จะเพ่มการเคลื่อนย้ายของกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือด  ระหว่างเลือดและเซลล์ตับสะดวกขึ้น ช่องว่างระหว่าง
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24