Page 53 - Liver Diseases in Children
P. 53

้
                                                                                       ี
                                                            ภาพวินิจฉัยของตับและระบบทางเดินน�าดในเด็ก  43


              pthaigastro.org

                                                       ี
             ของรอยโรค  เช่น  ขนาด  รูปร่าง  ความทึบรังส  ช่วยให้สามารถวินิจฉัยพยาธิสภาพของตับและระบบ
                                                                   �
                                                                   ้
             (density) การกระจายตัว และขอบเขตของความผิด    ทางเดินนาดีได้แม่นย�าและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
                                                                    ่
                                                                    ื
                                                                                 ิ
             ปกติ (รูปที่ 3.1ข) นอกจากนั้นยังน�าภาพตัดขวางเหล่าน ้ ี  อย่างต่อเนอง การตรวจวนิจฉัยด้วยเอ็มอาร์ไอไม่มี
                                                                                   ่
                                                                                   ื
             มาสร้างเป็นภาพในท่าด้านตรงหน้าหลัง (coronal  รังสที่เป็นอันตรายต่อเนื้อเยอของเด็กจึงค่อนข้าง
                                                              ี
             plane) และท่าด้านข้างซ้ายขวา (sagittal plane) ได้  ปลอดภัย ถึงแม้ว่าปัจจุบันการตรวจจะเร็วขึ้นกว่าใน
             อีกด้วย การฉีดสารทึบรังสี (iodinated contrast  อดีตมาก  แต่ก็ยังใช้เวลาในการตรวจนานกว่า
             media) เข้าไปทางหลอดเลือดด�าช่วยเพ่มความคมชัด  เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ประมาณ 20-40 นาทีแล้วแต่
                                            ิ
             ของภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์  หลังจากฉีดสาร  เทคนิคและพยาธิสภาพที่สงสัย จึงมีข้อเสียหลักที  ่
             ทึบรังสีเข้าไปแล้วสามารถเลือกช่วงเวลาที่จะตัดภาพ  ต้องคานึงถึง คือ เด็กเล็กมักต้องอาศัยการดมยาสลบ
                                                                �
                                                            ึ
                                                                 ิ
                                                                        ี
             เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ได้ โดยอาศัยระยะเวลาตามที ่  ซ่งก็เพ่มความเส่ยงในการดมยาสลบเข้ามาด้วย
             สารทึบรังสีเข้าไปในหลอดเลือด มักแบ่งเป็นช่วง       ก้อนเน้อในตับสามารถวินิจฉัยได้ดีด้วยเอ็มอาร์ไอ
                                                                      ื

                                                                                       8
             หลอดเลือดแดง (arterial phase) หลอดเลือดด�า  มากกว่าเอกซเรย์คอมพิวเตอร์   โดยเอ็มอาร์ไอ
             (portovenous phase) และช่วงที่สารทึบรังสีค้างอยู่  สามารถช่วยยืนยันการวินิจฉัยรอยโรคทีไม่สามารถ
                                                                                            ่
                                                      ึ
                 ื
             ในเน้อเย่อหลังจากฉีดสารทึบรังสีไประยะเวลาหน่ง  ให้การวินิจฉัยสุดท้ายได้จากอัลตราซาวนด์หรือ
                    ื
             (delayed phase) พยาธิสภาพของตับและระบบ  เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เช่น hemangioma, focal
                     ้
             ทางเดินน�าดีจะมีการจับสารทึบรังสีในช่วงเวลาต่าง ๆ   nodular hyperplasia, complex cyst ซึ่งท�าให้ช่วย
             ที่แตกต่างกันเป็นลักษณะเฉพาะ ซึ่งลักษณะการจับ  ลดการส่งตรวจชิ้นเนื้อด้วยการเจาะ (biopsy) การ
             สารทึบรังสีนี้สามารถช่วยวินิจฉัยแยกโรคของตับ  ผ่าตัด และลดจ�านวนคร้งในการติดตามทางรังสีวิทยา
                                                                              ั
             และระบบทางเดินน�้าดีได้เป็นอย่างดี            จุดประสงค์หลักของการตรวจก้อนเนื้อในตับด้วย
                                                                          ื
                                                           เอ็มอาร์ไอ คือ เพ่อดูลักษณะของก้อนเนื้อและการจับ
                                                           กับสารแกโดลิเนียม (gadolinium enhancement)
             กำรสร้ำงภำพด้วยสนำมแม่เหล็กไฟฟ้ำ              ว่าเข้าได้กับพยาธิสภาพชนิดใด ประเมินระยะของโรค

             หรือเอ็มอำร์ไอ                                และประเมินว่าสามารถผ่าตัดได้หรือไม่ (รูปที่ 3.8)

                  ในปัจจุบันการน�าเอ็มอาร์ไอมาใช้ในการช่วย  นอกจากนี้เอ็มอาร์ไอยังช่วยวินิจฉัยและประเมิน
             ตรวจวินิจฉัยพยาธิสภาพของตับและระบบทางเดิน     ปรมาณของไขมันหรอเหล็กทีสะสมผิดปกติในตับ
                                                                             ื
                                                                                     ่
                                                             ิ
             น�าดีได้รับความนิยมในวงกว้าง เน่องจากมีการพัฒนา  (รูปที่ 3.9) รวมถึงการเกิดพังผืดในเนื้อตับ (hepatic
              ้
                                        ื
                      ่
             อย่างต่อเนืองของเครองเอ็มอาร์ไอและเทคนิคการ   fibrosis) ได้อีกด้วย 8-10
                               ่
                               ื
             ตรวจ (pulse sequences) ท�าให้สามารถตรวจได้         การตรวจด้วยเอ็มอาร์ไอวิธีพิเศษที่เรียกว่า

                    ึ
             รวดเร็วข้น สามารถเลือกเทคนิคการตรวจที่เหมาะสม  magnetic resonance cholangiopancreatiography
             ในแต่ละโรคที่สงสัย การพัฒนาของสารแกโดลิเนียม  (MRCP) หรือเอ็มอาร์ซีพี (รูปที่ 3.10) เข้ามามีบทบาท
                                                                                                   ้
                                                                             ่
                                                                                   ้
             (gadolinium-based contrast agent) อย่างต่อเนื่อง  ในฐานะของการตรวจทีไม่รุกล�าของระบบทางเดินน�าด ี
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58