Page 31 - Liver Diseases in Children
P. 31

การตรวจทางชีวเคมีและการทางานของตับ   21
                                                                                   �



              pthaigastro.org
                             �
             ทั้งสองชนิดนี้ถูกกาจัดออกจากกระแสเลือดโดย  มีการบาดเจ็บของเซลล์ตับ  คนปกติอาจมีค่า
             reticuloendothelial system ในตับ AST มีค่า  aminotransferases ที่ต�่ามากได้ ค่าปกติของ ALT
             ครึ่งชีวิตเท่ากับ 17 ± 5 ชั่วโมงสั้นกว่า ALT ซึ่งมีค่า  และ AST ในเด็กแปรผันตามอายุและเพศ รวมทั้งมี

             ครึ่งชีวิตเท่ากับ 47 ± 10 ชั่วโมง  ดังนั้นระดับ AST  ความแตกต่างกันในแต่ละการศึกษา  ดังแสดงใน
                                        4
                                                                                         5-7
             จึงลดลงเร็วกว่า ALT ในระยะ recovery หลังจาก  ตารางที่ 2.2 และ 2.3

             ตารางที่ 2.1 ประเภทของการตรวจทางชีวเคมีและการท�างานของตับ (ดัดแปลงจากเอกสารอ้างอิงที่ 1-3)


             ประเภทของการประเมิน                                 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ

             การตรวจทางชีวเคมี (liver biochemical test)

             การบาดเจ็บของตับ (liver injury)         • Alanine aminotransferase (ALT)
                                                     • Aspartate aminotransferase (AST)
                                                     • Lactate dehydrogenase (LDH)

             ภาวะน้�าดีคั่ง (cholestasis) หรือการไหลของน้�าดี  • Alkaline phosphatase (ALP)
             (bile flow)                             • γ-glutamyltransferase (GGT)
                                                     • 5'-nucleotidase (5'NT)
             การก�าจัดเมแทบอไลต์ในร่างกาย            • แอมโมเนีย
             (endogenous metabolite)
             การตรวจการทำางาน (liver function test)

             การสังเคราะห์ (synthetic capacity)      • อัลบูมิน
                                                     • Prothrombin time (PT), international normalized
                                                       ratio (INR), partial thromboplastin time (PTT)
                                                     • ไทรกลีเซอไรด์ คอเลสเทอรอล lipoprotein

             การขับถ่าย (excretory function)         • บิลิรูบิน
                                                     • กรดน้�าดี (bile acid)
                                                     • การตรวจเชิงปริมาณ (quantitative tests) โดยวัด
                                                       อัตราการก�าจัด (rate of clearance) สารทดสอบต่าง ๆ
                                                       เช่น แคฟเฟอีน (caffeine), lidocaine หรือ para-
                                                       aminobenzoic acid (PABA)



                         ี
                                           ึ
                  สาเหตุท่ท�าให้ค่า AST สูงข้นโดยค่า ALT   โรคกล้ามเนือหวใจ (myocardial disease) และ
                                                                     ้
                                                                        ั
             อยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้แก่ ภาวะเม็ดเลือดแดงแตก  acute rhabdomyolysis  นอกจากนี้ค่า AST สูงขึ้น
                                                                               2
                                            �
             (hemolysis) เจาะเลือดยาก ออกกาลังกายหนัก  ยังพบได้ในคนปกติที่มี macro-AST ซึ่งเป็น AST ที่
             (vigorous exercise) โรคกล้ามเนื้อ (myopathy)  จับกับอิมมูโนโกลบูลิน 1
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36