Page 47 - Liver Diseases in Children
P. 47

ี
                                                                                     ้
                                                            ภาพวินิจฉัยของตับและระบบทางเดินน�าดในเด็ก  37


              pthaigastro.org
             กำรตรวจด้วยอัลตรำซำวนด์                            การตรวจอัลตราซาวนด์มีสองชนิด  คือ
                               ั
                           ิ
                                  ้
                  การตรวจวนิจฉยเบืองต้นด้วยอัลตราซาวนด์    การตรวจที่เป็นภาพขาวด�าเรียกว่าเกรย์สเกล
             เป็นการตรวจที่เหมาะสมในผู้ป่วยเด็ก เนื่องจากเด็ก  อัลตราซาวนด์ (gray scale ultrasound) ใช้ดูอวัยวะ
                    �
                                                  ื
             มีขนาดลาตัวเล็กและผนังหน้าท้องบาง คล่นเสียง   ในช่องท้องและการตรวจด้วยคัลเลอร์ดอปเพลอร์
             สามารถผ่านเข้าไปถึงอวัยวะในช่องท้องได้เป็นอย่าง  อัลตราซาวนด์ (color Doppler ultrasound) เพื่อดู
             ดี ท�าให้เห็นอวัยวะภายในโดยเฉพาะตับและระบบ    หลอดเลือด
                                                                      ้
                                                                      ี
                     �
                     ้
             ทางเดินนาดีได้อย่างชัดเจน  สามารถตรวจเพ่อ          ข้อบ่งชในการส่งตรวจอัลตราซาวนด์ของตับ
                                                      ื
             ดูต�าแหน่งและขนาดของก้อน รวมทั้งส่วนประกอบ    และระบบทางเดินน�้าดีในเด็ก ได้แก่
                                                                                  �
             ภายในของก้อนว่าเป็นของเหลว เป็นเนื้อ หรือมี        - ความผิดปกติแต่กาเนิดของระบบทางเดิน
                                         ู
             หนปูน  อัลตราซาวนด์มีข้อดีอย่มากที่เหนือกว่า  น�้าดี เช่น โรคท่อน�้าดีโป่งพอง (choledochal cyst)
              ิ
             เอกซเรย์คอมพิวเตอร์และเอ็มอาร์ไอ คือ ไม่มีรังส ี  (รูปที่ 3.2)
                                                                          �
                                                                          ้
                                           ี
              ึ
             ซ่งส่งผลกระทบต่อเนื้อเยื่อของเด็กท่ยังมีการพัฒนา     - โรคท่อนาดีตีบตัน  (biliary  atresia)
             ต่อเนื่อง สามารถท�าซ�้าได้โดยไม่มีผลกระทบต่อเด็ก   (รูปที่ 3.3)
             เป็นเคร่องมือที่มีอยู่ในเกือบทุกโรงพยาบาล และ      - การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุและการถูกท�าร้าย
                   ื
                          ื
             สามารถย้ายเคร่องอัลตราซาวนด์ไปท�าข้างเตียงใน   เช่น ตับฉีกขาด
                                                                           ั
             ผู้ป่วยเด็กทีไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ นอกจากน้การท�า     - กรณีที่สงสยก้อนเนื้อภายในตับซึ่งผู้ป่วยอาจ
                                                  ี
                      ่
             อัลตราซาวนด์ในเด็กส่วนใหญ่ก็สามารถท�าได้โดยไม่  มาด้วยตับโตหรือมีผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
                                                     ื
             ต้องพึงการดมยาสลบ  แม้ในบางครังการดูหลอดเลอด  ผิดปกติ
                              2
                                         ้
                 ่
                                                                        ี
                                                                                                    ื
                                              ื
             อาจต้องให้ยาที่ท�าให้เด็กหลับตื้นบ้างเพ่อการตรวจ      - กรณีท่มีไข้และสงสัยว่ามีการติดเช้อ
             ที่แม่นยาข้น อย่างไรก็ตามอัลตราซาวนด์ก็ยังมีข้อ  ภายในตับและ/หรือระบบทางเดินน�้าดี
                   �
                      ึ
             จ�ากัด คือ ผู้ที่ท�าการตรวจต้องมีความรู้เก่ยวกับเครื่องมือ      นอกจากอัลตราซาวนด์จะดูตับและระบบ
                                            ี
             และประสบการณ์ในการท�าอัลตราซาวนด์พอสมควร      ทางเดินน�้าดีได้เป็นอย่างดีแล้ว ยังสามารถดูอวัยวะ
             จึงจะให้ผลการตรวจที่แม่นย�าและเชื่อถือได้     ข้างเคียงและความผิดปกติที่เกิดร่วมด้วยได้
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52