Page 14 - E - Book แบบ PA ผู้บริหารสถานศึกษา
P. 14
ห น้ า | 10
4.2) การสอนที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากอภิปรายและแสดงความคิดเห็น
เป็นหัวใจส าคัญของการสอนที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยเริ่มจากผู้สอนกระตุ้นผู้เรียน
เกิดค าถามหรือตั้งค าถาม จากนั้นผู้สอนโน้มน้าว สร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนขยายความคิดและเชื่อมโยง
องค์ความรู้ จากนั้นเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น อภิปรายในชั้นเรียน โดยผู้สอนมีบทบาท
ั
ช่วยชี้แนะและสรุปความตามหลักการ สุดท้ายให้ผู้เรียนพฒนาชิ้นงาน หรือท าแบบฝึกหัด เพื่อประเมินผล
การเรียนรู้ (ปภาวรา ประเสริฐ, แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning,
https://www.sesao30.go.th/module/view.php?acafile=5dc3e29c7ee16_แนวทางการจัดการเรียนการ
สอนแบบ_Active_Learning1.pdf)
การเกษตรยั่งยืนสู่การพัฒนาสถานศึกษา ได้น้อมน าหลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ 9
คือ “ศาสตร์พระราชา” โดยน ามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับโครงการเกษตรยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรม เน้นการพัฒนา
ผู้เรียน ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจ ท าตามล าดับขั้นตอนอย่างเป็นระบบ
และจัดท าระบบให้ง่าย เพอให้เกิดทักษะกระบวนการเรียนรู้ สู่การปฏิบัติจริง Active Learning และพร้อม
ื่
ขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตร เกี่ยวกับดิน พืช ปศุสัตว์ ปุ๋ย และสิ่งแวดล้อม บางกิจกรรมสามารถ
น ามาท าเป็นอาหารกลางวัน ให้แก่ผู้เรียนได้รับประทานอย่างเพียงพอ ถูกสุขลักษณะ และถูกต้องตามหลัก
โภชนาการ โดยครูผู้สอน เป็นผู้สนับสนุน เป็นแหล่งความรู้ และอ านวยความสะดวกแก่ผู้เรียน เพื่อให้เหมาะ
ึ
กับการจัดการศกษาในศตวรรษที่ 21 ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเองมากที่สุด โดยผ่านการศึกษา ค้นคว้า
ทดลอง ลงมือปฏิบัติ คิด แก้ปัญหา ริเริ่มสร้างสรรค์ ท่างานเป็นกลุ่ม สรุปเป็นความรู้และสามารถน าเสนอ
ได้อย่างเหมาะสม ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
โรงเรียนบ้านแสลงพันกระเจา ได้ด าเนินโครงการเกษตรยั่งยืน ประกอบด้วยกิจกรรม การท าปุ๋ย
จากเศษวัสดุธรรมชาติในโรงเรียน เช่น ใบไม้ มูลสัตว์ เป็นต้น อีกทั้งการปลูกผักในตะกร้า การปลูกมะนาวในท่อ
การปลูกผลไม้ในเข่ง การปลูกไม้ดอก ไม้ประดับ การเลี้ยงไก่ไข่ การเลี้ยงสุกร การเพาะเห็ดนางรม การท าอาหาร
ขนม น้ าหวาน จากผลิตผลในโรงเรียน โดยซื้อขายในรูปของสหกรณ์ร้านค้า หากมีผลผลิตเหลือมากเกินความ
จ าเป็น เพื่อหารายได้มาเป็นทุนหมุนเวียนในการจัดท ากิจกรรมการเกษตรได้อกทางด้วย จากการมีส่วนร่วม
ี
ของทุกฝ่าย และการแบ่งงานกันท า ท าให้ผู้เรียนท างานอย่างมีความสุข โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ Active
Learning ซึ่งจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน (Project Based Learning) ในกิจกรรมการเกษตรของโรงเรียน
ึ่
สามารถพงพาตนเอง มีทักษะชีวิต น าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน ให้เกิดคุณลักษณะ “ดี เก่ง มี
ความสุข” กับผู้เรียน
2. วิธีการด าเนินการให้บรรลุผล
รูปแบบการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ( Project-Based Learning )
การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ( Project-Based Learning ) หมายถึง การเรียนรู้ที่จัดประสบการณ์
ในการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เรียนเหมือนกับการท างานในชีวิตจริงอย่างมีระบบ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มี
ประสบการณ์ตรง ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา วิธีการหาความรู้ความจริงอย่างมีเหตุผล ได้ท าการทดลอง ได้พิสูจน์
สิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง รู้จักการวางแผนการท างาน ฝึกการเป็นผู้น า ผู้ตาม ตลอดจนได้พัฒนากระบวนการคิด
โดยเฉพาะการคดขั้นสูง และการประเมินตนเอง โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้นเพื่อน าความสนใจที่เกิดจากตัวผู้เรียนมาใช้
ิ
ในการท ากิจกรรมค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวเอง น าไปสู่การเพิ่มความรู้ที่ได้จากการลงมือปฏิบัติ การฟัง และ
การสังเกตจากผู้รู้ โดยผู้เรียนมีการเรียนรู้ผ่านกระบวนการท างานเป็นกลุ่มที่จะน ามาสู่การสรุปความรู้ใหม่
ข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ต าแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะช านาญการพิเศษ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565