Page 89 - ขอเสนอเชงนโยบายเพอสนบสนนฯ e-book 1_Neat
P. 89
แนวโน้มการเปลี�ยนแปลงหลายด้้านส่งผลต่อการด้�าเนินงานด้้านประกัน
สังคม
1) ด้้านประชากร ประเทศไทยเข้ำสู่สังคมสูงอำยุ ส่งผลต่อแผนกำรดูแล
สุขภำพที่ขยำยระยะเวลำออกไป ประมำณกำรเป็นค่ำใช้จ่ำยต่อหัว
ที่เพิ่มขึ้นที่ 6,286 บำท โดยเป็นค่ำใช้จ่ำยเพื่อดูแลรักษำสุขภำพ
เพิ่มมำกขึ้นถึงร้อยละ 75 จำกแผนกำรประกันสุขภำพในปัจจุบัน
อีกทั้งเงินชรำภำพ อำจไม่เพียงพอต่อกำรด�ำรงชีพในสภำวะ
ปัจจุบันเนื่องด้วยอัตรำเงินเฟ้อ และอัตรำค่ำรักษำพยำบำลที่สูงขึ้น
เงินบ�ำนำญชรำภำพ เฉลี่ย 3,000 - 7,500 บำทต่อเดือน (เมื่อ
จ่ำยเงินสมทบมำแล้ว 180 เดือน) ทิศทำงกำรเคลื่อนย้ำยแรงงำน
มีเพิ่มมำกขึ้น โดยมีสำเหตุส่วนหนึ่งมำจำกรูปแบบอำชีพใหม่ ๆ
ในระบบเศรษฐกิจแบบแพลตฟอร์ม
2) ด้้านเทคโนโลยีด้ิจิทัล ส่งผลต่อควำมเปลี่ยนแปลงของตลำดแรงงำน
3) ด้้านสิทธิประโยชน์และการให้บริการ ซึ่ึ�งภำครัฐต้องส่งเสริมกำร
ให้บริกำรผ่ำนระบบดิจิทัล ขยำยควำมครอบคลุมให้คุ้มครอง
แผนสุขภำพระยะยำว ตลอดจนควำมต้องกำรของแรงงำนนอก
ระบบกลุ่มใหม่ ที่มีสภำพกำรท�ำงำนซึ่ึ่งสำมำรถท�ำงำนได้ทุกที่
ตลอดเวลำ ชั่วโมงกำรท�ำงำนไม่แน่ชัด และใช้อุปกรณ์ไอทีเป็น
สื่อกลำงในกำรท�ำงำนโดยปัจจุบันยังไม่มีกำรให้ค�ำนิยำมแรงงำน
ในระบบเศรษฐกิจแบบแพลตฟอร์ม หรือระบบเศรษฐกิจแบบ gig
economy ซึ่ึ่งแรงงำนกลุ่มดังกล่ำวปะปนกับกลุ่มแรงงำนนอกระบบ
อื่น ๆ อำทิ วินมอเตอร์ไซึ่ด์ พ่อค้ำ แม่ค้ำ ฯลฯ ทั้งนี้ เพื่อลดควำมเหลื่อมล�้ำ
และสร้ำงแรงจูงใจในกำรสมัครเป็นผู้ประกันตนเพิ่มเติมเพื่อสร้ำง
เม็ดเงินหมุนเวียนในระบบ
4) ปัจจัยอื่น ๆ อำทิ ภัยธรรมชำติ โรคอุบัติใหม่ เป็นต้น โดยปัจจัย
ที่ไม่สำมำรถควบคุมได้เหล่ำนี้ล้วนส่งผลต่อระบบกำรประกันสังคม
ซึ่ึ่งต้องมีควำมยืดหยุ่น เพื่อรองรับควำมต้องกำรด้ำนสิทธิประโยชน์
ที่หลำกหลำยของแรงงำนแต่ละกลุ่ม
นักศึกษา วปอ. รุ่นที่ 63 87