Page 112 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 112
ค้อเชียงดาว
ค้อเชียงดาว สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Trachycarpus oreophilus Gibbons & Spanner
วงศ์ Arecaceae
ปาล์มต้นเดี่ยว แยกเพศต่างต้นหรือมีดอกสมบูรณ์เพศร่วมต้น สูงได้ถึง 15 ม.
ล�าต้นเส้นผ่านศูนย์กลาง 10-20 ซม. กาบใบยาวได้ถึง 30 ซม. มีเส้นใยหนาแน่น
ใบรูปฝ่ามือ เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.9-1.1 ม. ใบย่อยแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง 60-90 แฉก
ปลายจักตื้น ๆ ด้านล่างมีนวล ก้านใบยาวได้ถึง 50 ซม. โคนก้านรูปสามเหลี่ยม
ขอบก้านใบจักซี่ฟัน หลังใบที่จุดติดก้านใบ (hastula) รูปสามเหลี่ยมขนาด
ประมาณ 3 ซม. ช่อดอกมี 3-5 ช่อ กาบประดับยาวประมาณ 25 ซม. ใบประดับ คอนสวรรค์: ใบแฉกรูปขนนก แฉกรูปเส้นด้ายลึกถึงเส้นกลางใบ ดอกรูปแตร เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก
ที่ก้านช่อและแกนช่อยาว 15-35 ซม. โคนเป็นหลอด ดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย ก้านเกสรเพศเมียติดทน กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: cultivated; ภาพดอก - RP, ภาพผล - MP)
คล้ายกัน ช่อดอกเพศผู้ตั้งตรง ยาว 30-50 ซม. ก้านยาวได้ถึง 20 ซม. ดอกสีครีม คอร์เดีย, สกุล
เกสรเพศผู้ 6 อัน ช่อดอกเพศเมียแข็งและโค้งเล็กน้อย ยาว 0.8-1 ม. ก้านช่อยาว Cordia L.
30-50 ซม. มี 3 คาร์เพล แยกกัน มักเจริญเพียงคาร์เพลเดียว ผลรูปคล้ายไต ยาว
1-1.2 ซม. เนื้อหุ้มเมล็ดบาง เมล็ดรูปรีกว้าง กว้างประมาณ 1 ซม. วงศ์ Cordiaceae
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และดอยภูคา จังหวัดน่าน ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใบเรียงเวียน ช่อดอกแบบช่อกระจุกเรียงแบบช่อเชิงหลั่น ไม่มี
ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 1700-2200 เมตร ค�าระบุชนิดหมายถึง ชอบเมฆ ใบประดับ กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอดหรือรูประฆัง ขยายในผล ดอกรูปแตร
ตามถิ่นที่อยู่บนเขาสูงที่มีเมฆปกคลุมเป็นเวลานาน หรือรูประฆัง สีขาว เหลือง หรือส้ม มี 4-8 กลีบ เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณู
มีขนที่โคน มี 2 คาร์เพล แต่ละคาร์เพลมี 2 ช่อง เกลี้ยง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว
สกุล Trachycarpus H. Wendl. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae มี 8 ชนิด ก้านเกสรเพศเมียแยก 2 แฉก 2 หน ผลผนังชั้นในแข็ง มีไพรีนเดียว หุ้มด้วย
พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีน พม่า และเวียดนาม ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุล กลีบเลี้ยงที่ขยาย มี 1-4 เมล็ด
มาจากภาษากรีก “trachys” ขรุขระ และ “kapos” ผล ตามลักษณะผิวของผล สกุล Cordia บางครั้งอยู่ภายใต้วงศ์ Boraginaceae มีประมาณ 250 ชนิด พบมาก
เอกสารอ้างอิง ในอเมริกาใต้ พบน้อยในแอฟริกา และเอเชีย ในไทยมีพืชพื้นเมืองประมาณ 10 ชนิด
Barford, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol. เป็นไม้ประดับ 2 ชนิดคือ อีกชนิดคือ สุวรรณพฤกษ์ C. dentata Poir. มีถิ่นกำาเนิดใน
11(3): 490-491. อเมริกากลาง ดอกสีเหลือง มี 5-6 กลีบ ผลสุกรสหวาน รับประทานได้ มียางเหนียว
Gibbons, M. and T.W. Spanner. (1997). Trachycarpus oreophilus: The Thailand ใช้แทนกาว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Valerius Cordus (1514-1544)
Trachycarpus. Principes 41(4): 201-207.
คอร์เดีย
Cordia sebestena L.
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้เกือบ 10 ม. กิ่งมีช่องอากาศ ใบรูปไข่ ยาว 15-20 ซม.
ปลายแหลม โคนรูปหัวใจหรือกลม ก้านใบยาว 3-4 ซม. ช่อดอกมี 10-40 ดอก
กลีบเลี้ยงยาว 1-1.5 ซม. ปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ 3-5 แฉก มีขนปกคลุม ดอกรูปแตร
บานออก มี 5-7 กลีบ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-5 ซม. ผลรูปรี ยาว 2-2.5 ซม. สุกสีขาว
มี 1-2 เมล็ด สีน�้าตาลเข้ม
มีถิ่นก�าเนิดทางตอนใต้ของสหรัฐอเมริกา อเมริกากลาง และประเทศในแถบ
ทะเลคาริบเบียน เป็นไม้ประดับ ผลสุกมีกลิ่นหอม กินสดหรือปรุงสุก
เอกสารอ้างอิง
Johnston, I. (1951). Studies in the Boraginaceae, xx: Representatives of three
subfamilies in eastern Asia. Journal of the Arnold Arboretum 27: 2-12.
ค้อเชียงดาว: ถิ่นที่อยู่ตามที่โล่งบนเขาหินปูน มีเมฆหมอกปกคลุม ปาล์มต้นเดี่ยว ใบรูปฝ่ามือ ใบแห้งติดทน Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
(ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi) Press, Honolulu, Hawai`i.
Zhu, G., H. Riedl and R.V. Kamelin. (1995). Boraginaceae. In Flora of China
คอนสวรรค์ Vol. 16: 331.
Ipomoea quamoclit L.
วงศ์ Convolvulaceae
ชื่อพ้อง Quamoclit pennata (Desr.) Bojer
ไม้เถา ใบแฉกรูปขนนก ยาว 2-10 ซม. แฉกรูปเส้นด้ายลึกถึงเส้นกลางใบ
มี 8-18 คู่ คู่ล่างปลายแยกเป็น 2 แฉก ก้านใบยาวได้ถึง 4 ซม. โคนมีแผ่นคล้ายหูใบ
ช่อดอกส่วนมากมีดอกเดียว ก้านช่อยาวได้ถึง 10 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 2 ซม.
กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาว 4-6 มม. ติดทน ด้านนอกมีปุ่มกระจาย ใต้ปลายกลีบ คอร์เดีย: ดอกรูปแตร บานออก มี 5-7 กลีบ ผลรูปรี สุกสีขาว (ภาพ: cultivated - RP)
มีติ่งสั้น ๆ ดอกรูปแตร สีแดงหรือสีขาว หลอดกลีบดอกยาว 2.5-3.5 ซม. ปลาย
บานออกแยกเป็นกลีบตื้น ๆ เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปาก
หลอดกลีบ รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียติดทน ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 6-8 มม.
เมล็ดยาว 5-6 มม. มีลายด่าง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ผักบุ้ง, สกุล)
มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้และอเมริกากลาง เป็นไม้ประดับ
เอกสารอ้างอิง
Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 422-423. สุวรรณพฤกษ์: ดอกสีเหลือง มี 5-6 กลีบ (ภาพ: cultivated - PK)
92
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 92 3/1/16 5:13 PM