Page 116 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 116

เครือกล้วยน้อย


                เครือกล้วยน้อย      สารานุกรมพืชในประเทศไทย           เอกสารอ้างอิง
                                                                       Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.
                Hiptage triacantha Pierre                                 In Flora of Thailand Vol. 4(1): 24-25.
                วงศ์ Malpighiaceae                                     Mackinder, B.A. and R. Clark. (2014). A synopsis of the Asian and Australasian
                                                                          genus Phanera Lour. (Cercideae: Caesalpinioideae: Leguminosae) including
                   ไม้พุ่ม กิ่งมีช่องอากาศ ใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 3-7 ซม. ก้านใบยาว   19 new combinations. Phytotaxa 166(1): 49-68.
                4-5 มม. ช่อดอกยาว 4-10 ซม. มีขนหนาแน่น ก้านดอกยาว 3-8 มม. มีข้อใต้จุด
                กึ่งกลาง กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 4 มม. มีต่อมขนาดใหญ่ต่อมเดียว
                ดอกสีขาว กลีบรูปไข่แกมรูปขอบขนาน โคนเป็นติ่งหู ด้านนอกมีขนหนาแน่น
                ขอบมีขนครุย ก้านกลีบยาวประมาณ 1 มม. กลีบยาว 6-9 มม. โคนมีสีเหลืองแต้ม
                เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 8 มม. อันสั้นยาวประมาณ 3 มม. รังไข่มีขนหนาแน่น
                ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. ผลมี 3 ปีกขนาดเท่า ๆ กัน รูปแถบ ยาว
                1-1.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ โนรี, สกุล)
                   พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                และภาคตะวันออก ขึ้นตามที่ลุ่มใกล้หนองน�้า ความสูงถึงประมาณ 200 เมตร

                  เอกสารอ้างอิง
                   Sirirugsa, P. (1991). Malpighiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 276.


                                                                      เครือเขาแกบ: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง กลีบดอกสีเขียวอ่อน มีก้านกลีบ จานฐานดอกรูปเบาะ สีเหลือง
                                                                     ฝักรูปใบหอก แบน (ภาพ: บางเบิด ชุมพร - RP)
                                                                     เครือเขาคำา
                                                                     Cuscuta reflexa Roxb.
                                                                     วงศ์ Convolvulaceae
                                                                       พืชเถาล้มลุกเบียน ล�าต้นเกลี้ยง เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. มีจุดสีน�้าตาลอมแดง
                                                                     กระจาย ใบลดรูปเป็นเกล็ดขนาดเล็ก ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือแยกแขนง ออกตาม
                  เครือกล้วยน้อย: ช่อดอกแบบช่อกระจะ มีขนหนาแน่น ก้านดอกมีข้อใต้จุดกึ่งกลาง มีต่อมขนาดใหญ่ต่อมเดียว
                กลีบดอกโคนมีสีเหลืองแต้ม โคนเป็นติ่งหู เกสรเพศผู้อันยาว 1 อัน (ภาพ: ยโสธร - PK)  ด้านข้าง ยาว 1.5-3 ซม. ใบประดับคล้ายเกล็ด ก้านดอกยาว 2-4 มม. กลีบเลี้ยง
                                                                     รูปถ้วย มี 5 กลีบ รูปไข่ ปลายมน ยาว 2-2.5 มม. ด้านนอกมีตุ่ม ดอกสีขาวหรือครีม
                เครือเขาแกบ, สกุล                                    หลอดกลีบดอกยาว 5-9 มม. กลีบแฉกตื้น ๆ รูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม บานออก
                Lasiobema (Korth.) Miq.                              โคนด้านในมีแผ่นหลอดเกสรเพศผู้เป็นเกล็ด รูปขอบขนาน ยาวถึงประมาณ
                วงศ์ Fabaceae                                        กึ่งกลางหลอดกลีบ ขอบจักชายครุย เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดระหว่างกลีบดอก อับเรณู
                                                                     ไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมาก อับเรณูสีเหลือง รังไข่มี 2 ช่อง ออวุล 4 เม็ด เกสรเพศเมีย
                   ไม้เถาหรือไม้พุ่มรอเลื้อย มีมือจับ หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ใบเรียงเวียน   ไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมาก ยอดเกสร 2 อัน รูปลิ้น โคนเชื่อมติดกัน ผลแห้งแตก
                บางครั้งปลายแยกเป็นแฉกตื้น ๆ ช่อดอกแบบช่อกระจะ มักแยกแขนง ใบประดับ  เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. มีตุ่มกระจาย
                และใบประดับย่อยขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปถ้วย แยก 2-3 แฉก
                หรือ 5 แฉก หรือขอบตัด กลีบดอก 5 กลีบ มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ 3 อัน   พบที่อินเดีย อัฟกานิสถาน ปากีสถาน เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้ พม่า และ
                รังไข่มีก้าน ก้านเกสรเพศเมียสั้น ฝักรูปใบหอก แบน เมล็ดแบน   ภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทางภาคเหนือ ขึ้นเบียนต้นไม้หลายชนิดตามชายป่า
                                                                     และป่าดิบเขา ความสูง 300-1900 เมตร น�้าคั้นจากต้นมีพิษท�าให้อาเจียน ใช้ถอนพิษ
                   สกุล Lasiobema เคยอยู่ภายใต้สกุล Bauhinia sect. Lasiobema หรือสกุลย่อย
                   Phanera sect. Lasiobema เนื่องจากคล้ายกับสกุล Phanera ที่เป็นไม้เถาและ  สกุล Cuscuta L. มีประมาณ 200 ชนิด ส่วนมากพบในอเมริกาเหนือและ
                                                                       อเมริกาใต้ หลายชนิดเป็นวัชพืชร้ายแรง และหลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร
                   มีมือจับ มีประมาณ 26 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 9 ชนิด ชื่อ  ในไทยมี 4 ชนิด ส่วนมากขึ้นเป็นวัชพืช โดยเฉพาะชนิดที่ลำาต้นสีเหลืองหรือ
                   สกุลมาจากภาษากรีก “lasios” ขนกำามะหยี่หรือขนแกะ และ “bema” ขั้นหรือ  ฝอยทอง ได้แก่ C. chinensis Lam., C. japonica Choisy และ C. reflexa
                   ยกขึ้น ตามลักษณะของกิ่งที่คล้ายขั้นบันได และกิ่งอ่อนส่วนมากมีขน  Roxb. ลักษณะทั่วไปยังดูคล้ายกับพืชในสกุล Cassytha (Lauraceae) หรือ
                                                                       สังวาลพระอินทร์ ซึ่งมีรังไข่ใต้วงกลีบ ผลสดมีหลายเมล็ด ปลายผลมีกลีบติดทน
                เครือเขาแกบ                                            ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินหมายถึงโยกโอนเอนไปมา ตามลักษณะวิสัยที่ขึ้นคลุม
                Lasiobema curtisii (Prain) de Wit                      ต้นไม้อื่นทำาให้ลำาต้นโยกเอนไปมา
                วงศ์ Fabaceae                                         เอกสารอ้างอิง
                  ชื่อพ้อง Bauhinia curtisii Prain                     Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 378-382.
                   ไม้เถา มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ช่อดอก และตาดอก
                หูใบรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 5-7 ซม. ปลายแหลม
                หรือแฉกตื้น ๆ ปลายแฉกแหลม โคนกลมหรือเว้าตื้น ๆ เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น
                ก้านใบยาว 1-3.5 ซม. ช่อดอกยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 2 ซม.
                ใบประดับย่อยติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ตาดอกรูปไข่ปลายแหลม ยาว 2-3 ซม.
                ฐานดอกสั้น ดอกสีเขียวอ่อน ยาว 5-7 มม. กลีบคู่ล่างรูปใบพาย 3 กลีบบนรูปใบหอก
                ก้านชูอับเรณูยาว 4-5 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน จานฐานดอกรูปเบาะ
                สีเหลือง ฝักรูปใบหอก ยาว 5-6 ซม. มี 5-6 เมล็ด
                   พบในภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายตามชายป่า
                เบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น เขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร  เครือเขาค�า: พืชเถาล้มลุกเบียน ล�าต้นเกลี้ยง ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือแยกแขนง ออกตามด้านข้าง มีจุดสี
                                                                     น�้าตาลอมแดงกระจาย ผลมีตุ่มกระจาย (ภาพ: อ่างขาง เชียงใหม่ - PK)

                96






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   96                                                                  3/1/16   5:13 PM
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121