Page 118 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 118

เครือปลาซิว
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ตาก เชียงใหม่ ขึ้นตามหุบเขาที่ลาดชัน  เครือปุง, สกุล
                ใกล้ล�าธารในป่าดิบแล้ง ความสูง 300-700 เมตร          Stemona Lour.

                   สกุล Thepparatia Phuph. อยู่ในเผ่า Gossypieae มีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งเพื่อ  วงศ์ Stemonaceae
                   เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   ไม้เถาล้มลุก รากอวบหนาจ�านวนมาก รูปกระสวย โคนต้นมีเกล็ดหุ้มยอด
                                                                     เป็นกาบ ใบเรียงเวียน เรียงตรงข้าม หรือเรียงรอบข้อ ก้านใบมักโป่งพอง เส้นใบ
                  เอกสารอ้างอิง
                   Phuphathanaphong, L. (2006). Thepparatia (Malvaceae), a new genus from   6-13 เส้น โค้งจรดปลายใบ เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม
                      Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 34: 195-200.  หรือแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ ใบประดับเรียวแคบ มักติดทน ก้านดอกมีข้อ
                                                                     กลีบรวม 4 กลีบ แยกจรดโคน เรียงซ้อนเหลื่อม บานออก ติดทน เกสรเพศผู้ 4 อัน
                                                                     โคนอับเรณูแนบติดแกนที่แผ่เป็นแผ่น บางครั้งมีรยางค์เล็ก ๆ คล้ายเดือย 1 อัน
                                                                     หรือไม่มี ก้านชูอับเรณูสั้น เชื่อมติดกันที่โคนแนบติดกลีบรวม รังไข่มีช่องเดียว
                                                                     ไร้ก้านเกสรเพศเมีย ยอดเกสรขนาดเล็ก ผลแห้งแตก มีหลายเมล็ด เรียวยาว
                                                                     ปลายเป็นจะงอย มีก้าน โคนมีเยื่อหุ้มรูปคล้ายนิ้วมือ

                                                                       สกุล Stemona มีประมาณ 20 ชนิด พบในเอเชียและออสเตรเลีย ในไทยมี 11 ชนิด
                                                                       หลายชนิดมีรากอวบหนา มีสรรพคุณด้านสมุนไพร ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                       “stemon” เกสรเพศผู้ หมายถึงลักษณะโคนอับเรณูแนบติดแกนที่แผ่เป็นแผ่น

                                                                     เครือปุง
                                                                     Stemona aphylla Craib
                                                                       ไม้เถา ยาว 2-4 ม. เกลี้ยง ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง ยาว 6-8 ซม. โคนตัดหรือ
                  เครือเทพรัตน์: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ริ้วประดับ 5-7 อัน ดอกสีเหลืองครีมมีปื้นสีแดง ปลายกลีบพับงอ   รูปหัวใจ เส้นใบ 9-11 เส้น ก้านใบยาว 4-17 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบ ไร้ก้าน
                (ภาพ: ท่าสองยาง ตาก - RP)
                                                                     หรือยาวประมาณ 5 มม. มี 1-3 ดอก ใบประดับยาว 0.8-1 ซม. ก้านดอกยาว
                เครือปลาซิว                                          0.5-2 ซม. ดอกสีน�้าตาลอมเขียวหรือแดง กลีบรวมรูปใบหอกปลายเรียวแหลม
                Pseudodissochaeta septentrionalis (W. W. Sm.) M. P. Nayar  ยาว 2-2.5 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 1.5-2.7 ซม. รวมรยางค์ที่ปลายแกนอับเรณูรูปลิ่มแคบ
                                                                     ไม่มีรยางค์คล้ายเดือย ผลรูปรี ยาว 2-3 ซม. มี 5-6 เมล็ด เรียว ยาว 1-1.2 ซม.
                วงศ์ Melastomataceae
                  ชื่อพ้อง Medinilla septentrionalis (W. W. Sm.) H. L. Li, Oritrephes septen-  พืชถิ่นเดียวของไทย พบกระจายทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                    trionalis W. W. Sm.                              ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ หรือบนเขาหินปูน ความสูง 200-700 เมตร
                   ไม้พุ่มพาดเลื้อย สูงได้ถึง 4 ม. ตามข้อมีเส้นและขนแข็ง ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่
                ถึงรูปใบหอก ยาว 6-10 ซม. ปลายแหลมยาว เส้นใบข้างละ 2 เส้น ขอบเรียบ  เครือปุงขน
                หรือจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว 0.4-1 ซม. ช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามซอกใบ  Stemona kerrii Craib
                และปลายกิ่ง ยาว 2-5 ซม. แต่ละช่อมี 1-5 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม.   ไม้เถา ยาวได้ถึง 1 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบ ก้านใบ ช่อดอก และ
                ใบประดับขนาดเล็ก ฐานดอกรูปถ้วย ยาวประมาณ 5 มม. ปลายแยก 4 แฉกตื้น ๆ   กลีบรวม ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง ยาว 4-7 ซม. โคนรูปหัวใจ เส้นใบ 9-17 เส้น
                กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 6 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน เรียง 2 วง   ก้านใบยาว 1.5-4 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบ ก้านช่อยาว 1-2.5 ซม. มี 1-4 ดอก
                วงนอกยาวประมาณ 1.3 ซม. วงในสั้นกว่าเล็กน้อย ปลายอับเรณูมีช่องเปิด โคนมี  ใบประดับยาวประมาณ 5 มม. ก้านดอกยาว 1.5-4.5 ซม. ดอกสีน�้าตาลอมแดง
                เดือยสั้น ๆ รังไข่มี 4 ช่อง ปลายเว้า ถุงเกสรเพศผู้แนบติดโคนรังไข่ ผลสดมีหลายเมล็ด   กลีบรวมรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ปลายเรียวแหลม ยาว 1-1.2 ซม. เกสรเพศผู้
                รูปคนโท ยาวประมาณ 7 มม. เมล็ดรูปลิ่ม ขนาดเล็ก        ยาว 0.8-1.2 ซม. รวมรยางค์ ปลายแกนอับเรณูรูปสามเหลี่ยมแคบ ไม่มีรยางค์
                   พบที่จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก   คล้ายเดือย ผลเกลี้ยง รูปไข่ ยาว 1.2-1.4 ซม. มี 1-3 เมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง
                และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เพชรบูรณ์ ขึ้นตามชายป่าหรือในป่าดิบเขา ความสูง   ประมาณ 5 มม.
                800-1500 เมตร                                          พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภาคเหนือของไทย ขึ้นตามป่าเบญจพรรณที่เป็น
                                                                     หินปูน ความสูง 200-900 เมตร
                   สกุล Pseudodissochaeta Nayar มี 7 ชนิด พบที่อินเดีย จีน พม่า และภูมิภาค
                   อินโดจีน ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ P. subsessilis (Craib) Nayar พบทางภาคเหนือ   เครือปุงดอกสั้น
                   และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ดอกจำานวนมาก ใบใหญ่กว่า
                   ด้านล่างมีขนยาวประปราย ชื่อสกุลหมายถึงคล้ายพืชสกุล Dissochaeta  Stemona involuta Inthachub
                                                                       ไม้เถา ยาวได้ถึง 1 ม. เกลี้ยง ใบเรียงเวียน รูปหัวใจหรือรูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม
                  เอกสารอ้างอิง
                   Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.   ยาว 5-11 ซม. โคนตัดหรือเว้าตื้น เส้นใบ 7-9 เส้น ก้านใบยาว 3.5-6.5 ซม.
                      In Flora of Thailand Vol. 7(3): 475-476.       ช่อดอกออกตามซอกใบ ไร้ก้านช่อ มีดอกเดียว ใบประดับยาว ประมาณ 7 มม.
                                                                     ก้านดอกยาว 0.5-1.7 ซม. ดอกสีน�้าตาลเข้มอมแดง กลีบรวมรูปไข่แกมรูปใบหอก
                                                                     ปลายเรียวแหลม ยาว 1.5-2 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 1.3-1.5 ซม. รวมรยางค์ ปลายแกน
                                                                     อับเรณูขอบม้วน ไม่มีรยางค์คล้ายเดือย ผลเกลี้ยง รูปไข่ ยาวประมาณ 1.3 ซม.
                                                                     มี 3-6 เมล็ด รูปไข่ ยาว 7-8 มม.
                                                                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่สุโขทัย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่
                                                                     ขอนแก่น และภาคตะวันออกที่นครราชสีมา ขึ้นตามป่าโปร่งที่มีหินโผล่ ความสูง
                                                                     100-300 เมตร
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Duyfjes, B.E.E. and P. Inthachub. (2011). Stemonaceae. In Flora of Thailand
                  เครือปลาซิว: ใบเรียงตรงข้าม เส้นใบข้างละ 2 เส้น ช่อดอกออกตามซอกใบ ผลรูปคนโท (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - RP)  Vol. 11(1): 75-94.

                98






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   98                                                                  3/1/16   5:14 PM
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123