Page 123 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 123

แคทะเล, สกุล                                        แคธารโบก   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  แคสันติสุข
                    Dolichandrone (Fenzl) Seem.                         Radermachera peninsularis Steenis
                    วงศ์ Bignoniaceae                                   วงศ์ Bignoniaceae
                       ไม้ต้น ใบประกอบปลายคี่ เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ไม่มีหูใบเทียม ใบย่อย  ไม้ต้น สูง 7-20 ม. ใบประกอบ 3 ชั้น ยาว 40-80 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน
                    เรียงตรงข้าม โคนเบี้ยว ช่อดอกแบบช่อกระจะออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง  ถึงรูปใบหอก ยาว 5-7 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบมีจุด
                    เชื่อมติดกันเป็นหลอดคล้ายกาบ ปลายมีจะงอย ดอกสีขาว โคนหลอดกลีบเรียวแคบ   โปร่งแสงกระจาย ด้านล่างมีต่อมใกล้ช่วงปลายใบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วยหนา ยาว
                    ปลายบานออกรูประฆัง แยกเป็น 5 กลีบตื้น ๆ แผ่นกลีบย่น เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาว  1.5-2 ซม. ปลายแยก 3-5 แฉก ขนาดไม่เท่ากัน ดอกรูประฆัง สีขาวครีม ด้านใน
                    ไม่เท่ากัน เกลี้ยง ติดภายในหลอดกลีบดอก ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ เกสรเพศผู้  มีปื้นเหลือง หลอดกลีบดอกช่วงโคนยาวประมาณ 1.5 ซม. ช่วงปลายแผ่กว้าง
                    ที่เป็นหมัน 1 อัน ลดรูป จานฐานดอกรูปเบาะ รังไข่รูปทรงกระบอกสั้น มี 2 ช่อง   ยาว 3.5-4.5 ซม. กลีบรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 2 ซม. จุดติดเกสรเพศผู้เกลี้ยง
                    ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย เรียวยาว ยอดเกสรเพศเมียแยกเป็น 2 แฉก ผลแห้งแตก   จานฐานดอกรูปวงแหวน ฝักรูปแถบบิดไปมา ยาว 50-65 ซม. เมล็ดรูปแถบ ยาว
                    เกลี้ยง ผนังกั้นรูปกากบาท เมล็ดเป็นคอร์ก มีปีก      ประมาณ 1.2 ซม. รวมปีกใส (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กาซะลองค�า, สกุล)
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยที่สุราษฎร์ธานี กระบี่ และพังงา
                       สกุล Dolichandrone เคยอยู่ภายใต้สกุล Dolichandra sect. Dolichandrone
                       มีประมาณ 10 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ  ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 100 เมตร
                       ออสเตรเลีย ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dolichos” ยาว และ   เอกสารอ้างอิง
                       “andros” เกสรเพศผู้ ตามลักษณะของเกสรเพศผู้          Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 40.

                    แคทะเล
                    Dolichandrone spathacea (L. f.) K. Schum.
                      ชื่อพ้อง Bignonia spathacea L. f.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งอ่อนมักมีเมือกเหนียว ใบประกอบยาว 8-35 ซม.
                    ใบย่อยมี 2-4 คู่ รูปไข่ถึงรูปใบหอก ยาว 7-16 ซม. ก้านใบย่อยยาว 0.4-1 ซม.
                    ช่อดอกยาว 2-4 ซม. มี 2-8 ดอก ก้านดอกยาว 1.5-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 3-9 ซม.
                    หลอดกลีบดอกส่วนโคนยาว 8-13 ซม. ส่วนบานออกยาว 3-5 ซม. เกสรเพศเมีย
                    ยื่นเลยพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อย ผลรูปแถบโค้งเล็กน้อย ยาว 30-60 ซม.
                    ผนังกั้นแข็ง เมล็ดและปีกหนาเป็นคอร์ก ยาว 1.3-1.8 ซม. รวมปีก
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และหมู่เกาะแปซิฟิก
                    ในไทยพบทางภาคกลาง และภาคใต้แถบจังหวัดชายทะเล ขึ้นตามชายป่าโกงกาง
                    ด้านในหรือริมแม่น�้าที่น�้าทะเลท่วมถึง เมล็ดบดมีสรรพคุณระงับประสาท จิตผิดปกติ   แคธารโบก: ใบประกอบแบบขนนก 3 ชั้น กลีบเลี้ยงรูปถ้วยหนา ดอกรูประฆังสีขาวครีม ด้านในมีปื้นเหลือง (ภาพ:
                    ใบใช้ประคบแผลไฟไหม้                                 เขาประบางคราม กระบี่ - RP)

                    แคทุ่ง                                              แคสันติสุข, สกุล
                    Dolichandrone columnaris Santisuk                   Santisukia Brummit
                                                                        วงศ์ Bignoniaceae
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบประกอบยาว 10-24 ซม. ใบย่อยมี 2-4 คู่ รูปรีหรือ
                    รูปไข่ ยาว 3-13 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีต่อมประปราย ก้านใบย่อยยาวได้ถึง 2.2 ซม.   ไม้ต้น ใบประกอบชั้นเดียว เรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง แผ่นใบด้านล่างมีต่อม
                    ช่อดอกมี 1-3 ดอก ก้านดอกยาว 2-3.3 ซม. กลีบเลี้ยงยาว 3.5-5 ซม. หลอดกลีบดอก  ประปราย ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด
                    ส่วนโคน ยาว 10-17 ซม. ส่วนบานออกยาว 2-3.4 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 1.5-2 ซม.   กลีบแฉกไม่เท่ากัน ด้านนอกมีตุ่ม ดอกรูปล�าโพงหรือรูประฆัง มี 5 กลีบ ขนาด
                    อันที่เป็นหมันยาวประมาณ 5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาว 11-12 ซม. ผลรูปแถบ   เท่า ๆ กัน แผ่นกลีบย่น เกสรเพศผู้อันสั้น 2 อัน อันยาว 2 อัน ไม่ยื่นพ้นปากหลอด
                    บิดงอ ยาว 25-60 ซม. ผนังกั้นหนาเป็นคอร์ก เมล็ดรูปสี่เหลี่ยม บาง ยาว 2.5-3 ซม.   กลีบดอก จุดติดมีขน ผลแห้งแตกตามยาว รูปขอบขนานสั้น ๆ ผนังกั้นรูปกากบาท
                    รวมปีก                                              ผนังเทียมหนาเป็นคอร์ก เมล็ดบางคล้ายจาน มีปีกบางรูปครึ่งวงกลม
                       พบที่กัมพูชา เวียดนาม และคาบสมุทรมลายูตอนบน ในไทยพบทางภาคใต้   สกุล Santisukia เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย เดิมใช้ชื่อสกุล Barnettia แต่ไปซ้ำากับ
                    ขึ้นตามทุ่งหญ้าที่ชื้นแฉะหรือท้องไร่ท้องนา             ชื่อสกุลพวกเห็ดรา R. K. Brummitt ผู้เชี่ยวชาญด้านการตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ชาว
                                                                           อังกฤษของสวนพฤกษศาสตร์คิว จึงเปลี่ยนชื่อสกุลใหม่ตามชื่อ ศ. ดร.ธวัชชัย
                      เอกสารอ้างอิง
                       Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 52-56.  สันติสุข ผู้ศึกษาพืชวงศ์แค Bignoniaceae ของไทย มีเพียง 2 ชนิด
                       van Steenis, C.G.G.J. (1977). Bignoniaceae. In Flora Malesiana Vol. 8: 141-144.
                                                                        แคสันติสุข
                                                                        Santisukia kerrii (Barnett & Sandwith) Brummitt
                                                                          ชื่อพ้อง Radermachera kerrii Barnett & Sandwith, Barnettia kerrii (Barnett &
                                                                            Sandwith) Santisuk
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ล�าต้นมักแคระแกร็น ใบประกอบมีใบย่อย 4-7 คู่ รูปไข่
                                                                        รูปขอบขนาน หรือรูปใบหอก ยาว 3.5-7.5 ซม. โคนเบี้ยว ขอบจักฟันเลื่อยตื้น ๆ หรือ
                                                                        เป็นคลื่นห่าง ๆ ก้านใบยาว 2-5 มม. ช่อดอกยาว 16-28 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว
                                                                        1-1.5 ซม. มีต่อมประปราย ดอกรูประฆัง สีขาวอมชมพูหรือสีชมพูเข้ม ยาว 3-4 ซม.
                                                                        โคนเป็นหลอดแคบสั้น ยาว 0.8-1.2 ซม. ปลายบานออกกว้าง ยาว 2.3-3.3 ซม.
                      แคทะเล: หลอดกลีบดอกช่วงโคนยาวประมาณ 2 เท่าของช่วงปลายที่บานออก (ภาพซ้าย: พังงา - NP); แคทุ่ง:   ฝักรูปขอบขนาน ยาว 12-16 ซม. ผิวมีต่อมประปราย ผนังกั้นกว้าง 2.8-3.8 ซม.
                    หลอดกลีบส่วนโคนเรียวแคบ ยาวกว่าช่วงปลายที่บานออกเกิน 2 เท่า (ภาพ: cultivated - RP)  เมล็ดยาวประมาณ 3 ซม. รวมปีก

                                                                                                                    103






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   103                                                                 3/1/16   5:16 PM
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128