Page 126 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 126
โคลงเคลงผลแห้ง
โคลงเคลงผลแห้ง สารานุกรมพืชในประเทศไทย โคลงเคลงแอฟริกา
Melastoma pellegrinianum (H. Boissieu) Karst. Mey. Dissotis rotundifolia (Sm.) Triana
วงศ์ Melastomataceae วงศ์ Melastomataceae
ชื่อพ้อง Dissotis pellegriniana H. Boissieu ชื่อพ้อง Osbeckia rotundifolia Sm.
ไม้พุ่ม สูง 1-2.5 ม. มีขนแข็งเอนตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน และฐานดอก ไม้ล้มลุกทอดเลื้อยชูยอดตามพื้น มีรากตามข้อ มีขนตามกิ่งอ่อนและแผ่นใบ
ใบรูปใบหอก ยาว 8-12 ซม. เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่ ยาว 1-7 ซม. ขอบจักฟันเลื่อยตื้น ๆ มีขนแหลม เส้นโคนใบ
ช่อดอกแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง ดอกจ�านวนมาก ใบประดับยาวประมาณ ข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาว 1-2 ซม. ช่อดอกมี 1-2 ดอก ก้านดอกสั้น ฐานดอกและ
8 มม. ด้านนอกมีขนยาว ฐานดอกยาว 5-7 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว กลีบเลี้ยงรูปถ้วยมีขนรูปดาวมีก้านหนาแน่น กลีบเลี้ยง 5-6 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
5-7 มม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวไม่ ยาว 0.5-1 ซม. พับงอกลับ มีสันกลางกลีบ ดอกสีชมพูอมม่วง มี 5-6 กลีบ รูปรีกว้าง
เท่ากัน แกนอับเรณูวงนอกยาวประมาณ 9 มม. รยางค์ยาว 0.8-1 ซม. วงในสั้นกว่า โคนเรียวแคบ ยาว 2-2.8 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน อันยาว 5 อัน โค้งคล้ายตะขอ
วงนอก รังไข่ปลายมีขนแข็ง ผลแห้งแตกด้านบน รูปรีกว้าง ยาว 0.6-1 ซม. (ดูข้อมูล อับเรณูสีม่วงหรือชมพู อันสั้น 5 อัน อับเรณูตรงสีเหลือง รยางค์ที่โคนจัก 2 พู
เพิ่มเติมที่ โคลงเคลง, สกุล) รังไข่มี 5 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้อันยาว โคนมีขนยาว ผลแห้งแตก
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคกลาง ภาคตะวันออก รูปรีกว้าง ยาว 0.6-1 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก มีริ้วและรูพรุน
และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ที่โล่งบนลานหิน ความสูงถึง มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกา เป็นไม้ประดับ เมล็ดไม่พัฒนา ขยายพันธุ์โดยการปักช�า
ประมาณ 600 เมตร
สกุล Dissotis Benth. มีมากกว่า 100 ชนิด พบเฉพาะในแอฟริกา ชื่อสกุลมาจาก
โคลงเคลงยวน ภาษากรีก “dissos” 2 แบบ ตามลักษณะของเกสรเพศผู้
Melastoma saigonense (Kuntze) Merr. เอกสารอ้างอิง
ชื่อพ้อง Osbeckia saigonensis Kuntze Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
Press, Honolulu, Hawai`i.
ไม้พุ่ม สูงได้ประมาณ 3 ม. กิ่งมีขนแข็งสีน�้าตาลแดง ขนยาวตามแผ่นใบ
ทั้งสองด้านและใบประดับ ขนแข็งรูปดาวเป็นติ่งหนาแน่นตามฐานดอก และผล
ใบรูปขอบขนาน ยาว 3-9 ซม. เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 2 ซม.
ช่อดอกออกตามซอกใบที่ปลายกิ่งมี 3-5 ดอก ใบประดับยาวประมาณ 5 มม. ฐานดอก
ยาว 1-1.3 ซม. กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวประมาณ 7 มม. กลีบดอก
4-5 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาวไม่เท่ากัน อับเรณู
ยาวประมาณ 1 ซม. แกนอับเรณูยาวเท่า ๆ อับเรณู วงในแกนอับเรณูไม่ยื่นยาว
รังไข่ปลายมีขนแข็ง ผลยาว 1.2-1.4 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ โคลงเคลง, สกุล)
โคลงเคลงแอฟริกา: ไม้ล้มลุกทอดชูยอด ฐานดอกมีขนรูปดาวมีก้าน กลีบเลี้ยงพับงอกลับ (ภาพ: cultivated - RP)
พบที่พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ที่โล่ง ไคร้งอย
บนลานหินทราย ความสูงถึงประมาณ 200 เมตร Itea riparia Collett & Hemsl.
เอกสารอ้างอิง วงศ์ Iteaceae
Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae. ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. หูใบคล้ายขนครุย ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว
In Flora of Thailand Vol. 7(3): 444-446. 5-13 ซม. ขอบจักฟันเลื่อย ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง ยาว 4-8 ซม.
มีขนก�ามะหยี่หนาแน่น ใบประดับยาวประมาณ 3 มม. ร่วงเร็ว แต่ละใบประดับ
มี 1-3 ดอก ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 3-5 มม. ขยายในผล ฐานดอก
ยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ เชื่อมติดโคนรังไข่ รูปสามเหลี่ยม
ยาวประมาณ 2 มม. ติดทน ดอกสีขาว กลีบรูปไข่แคบ ๆ ยาว 4-5 ซม. จานฐานดอก
รูปวงแหวน เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใต้ขอบจานฐานดอก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ
3 มม. มี 2 คาร์เพล ติดกันที่โคน ยอดเกสรเพศเมียเชื่อมกัน ติดทน ผลแห้งแตก
แยกเป็น 2 ซีก ยาว 5-6 มม. เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก
พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น
ภาคใต้ ขึ้นตามริมล�าธารในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูง
200-1400 เมตร เป็นไม้ทนน�้าท่วม
สกุล Itea L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Escalloniaceae, Grossulariaceae หรือ Saxi-
fragaceae มีประมาณ 18 ชนิด ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ I. macrophylla
โคลงเคลงผลแห้ง: ช่อดอกแยกแขนง ออกตามปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน (ภาพ: เขาใหญ่ นครนายก - RP) Wall. ไม่ใช่พืชทนน้ำาท่วม ใบขนาดใหญ่กว่า และช่อดอกออกตามซอกใบ ในไทย
พบที่เชียงใหม่ ชื่อสกุลเป็นภาษากรีกหมายถึงพืชพวกหลิว
เอกสารอ้างอิง
Esser, H.-J. (2005). Iteaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(1): 36-38.
โคลงเคลงยวน: กิ่งมีขนแข็งสีน�้าตาลแดง ขนยาวตามแผ่นใบทั้งสองด้านและใบประดับ ขนแข็งรูปดาวเป็นติ่งหนาแน่น
ตามฐานดอก และผล เกสรเพศผู้ยาวไม่เท่ากัน (ภาพ: อุบลราชธานี - PK) ไคร้งอย: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ผลแห้งแตก แยกเป็น 2 ซีก (ภาพ: น�้าตกพาเจริญ ตาก; ภาพดอก - RP, ภาพผล - PK)
106
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 106 3/1/16 5:17 PM