Page 125 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 125

สารานุกรมพืชในประเทศไทย


                                                                        โคลงเคลงขนต่อม                      โคลงเคลงตัวผู้
                                                                        Clidemia hirta (L.) D. Don
                                                                        วงศ์ Melastomataceae
                                                                          ชื่อพ้อง Melastoma hirtum L.
                                                                           ไม้พุ่ม หรือกึ่งเลื้อย สูง 1-2 ม. มีขนหยาบแข็งเป็นต่อมตามส่วนต่าง ๆ ใบเรียง
                                                                        ตรงข้าม รูปไข่ ยาว 5-15 ซม. โคนกลมหรือเว้าตื้น ขอบใบจักฟันเลื่อย เส้นใบ
                      โคกกระออม: ช่อดอกย่อยลดรูปเป็นมือเกาะ ดอกสมมาตรด้านข้าง กลีบดอกมีเกล็ดขนาดใหญ่ด้านใน ปลายเป็น
                    สันนูนสีเหลือง ผลมี 3 พู ผนังบาง (ภาพ: อยุธยา - RP)  ออกจากโคนข้างละ 2 เส้น เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาวได้ถึง 3 ซม.
                                                                        ช่อดอกแบบกระจุกสั้น ๆ ออกตามซอกใบ มีได้ถึง 15 ดอก ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยง
                    โคลงเคลง, สกุล                                      5 กลีบ รูปเส้นด้าย ยาวเท่า ๆ ฐานดอก ดอกสีขาว มี 5 กลีบ รูปไข่ ยาว 0.8-1 ซม.
                    Melastoma L.                                        เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียงเป็น 2 วง อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. มีรูเปิดที่ปลาย
                    วงศ์ Melastomataceae                                แกนอับเรณูมีรยางค์เป็นเดือยเล็ก ๆ ด้านข้าง รังไข่มี 5 ช่อง ผลสดมีหลายเมล็ด
                                                                        เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มม. สุกสีน�้าเงิน
                       ไม้พุ่ม ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือช่อแยกแขนง กลีบเลี้ยง
                    และกลีบดอกส่วนมากจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ ดอกส่วนมากสีชมพูหรืออมม่วง    มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ แถบประเทศเม็กซิโกถึงโบลิเวีย เป็นวัชพืชทั่วไปใน
                    ฐานดอกรูปถ้วย มีเกล็ด ขนแข็ง หรือขนกระจุก เกสรเพศผู้จ�านวน 2 เท่าของกลีบดอก   เขตร้อน ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าดิบชื้นที่เปิดโล่ง และสวนยาง ใบขยี้
                    เรียง 2 วง มี 2 แบบหรือแบบเดียว แกนอับเรณูยื่นยาว อันที่ติดเหนือกลีบเลี้ยง  ใช้พอกแผลสดเพื่อห้ามเลือด
                    ยาวกว่าอันที่ติดเหนือกลีบดอก ปลายโค้ง ส่วนมากมีรยางค์ 2 อัน หรือจัก 2 พู   สกุล Clidemia D. Don พบเฉพาะในอเมริกาใต้เขตร้อน มีประมาณ 120 ชนิด
                    อับเรณูมีรูเปิดที่ปลาย รังไข่ใต้วงกลีบ แนบติดฐานดอกรูปถ้วย มี 5 ช่อง เกสรเพศเมีย  ในไทยขึ้นเป็นวัชพืช ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์กรีกโบราณ Cleidemus
                    ยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้อันยาว ยอดเกสรขนาดเล็ก ผลแห้งแตกออกเป็นส่วน ๆ
                    หรือแห้งไม่แตก เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก ฝังตามเนื้อผล   เอกสารอ้างอิง
                                                                           Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
                       สกุล Melastoma มี 22 ชนิด พบในเอเชีย ในไทยมี 8 ชนิด ชื่อสกุลมาจาก  In Flora of Thailand Vol. 7(3): 417-419.
                       ภาษากรีก “melas” สีดำา และ “stoma” ปาก หมายถึงผลของพืชสกุลนี้บางชนิด
                       ทำาให้ปากดำาเมื่อกินเข้าไป

                    โคลงเคลง
                    Melastoma malabathricum L.
                       ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 6 ม. กิ่งเป็นเหลี่ยม มีเกล็ดคล้ายขนแบนราบหนาแน่น
                    ตามกิ่ง ใบประดับ และฐานดอกรูปถ้วย ใบรูปใบหอก ยาว 4-14 ซม. เส้นโคนใบ  โคลงเคลงขนต่อม: ส่วนต่าง ๆ มีขนต่อมทั่วไป เส้นโคนใบข้างละ 2 เส้น เส้นใบย่อยแบบขั้นบันได กลีบดอกรูปไข่
                    ข้างละ 1-2 เส้น แผ่นใบมีขนแข็งเอนหนาแน่นทางด้านล่าง ก้านใบยาว 0.5-2 ซม.   เกสรเพศผู้ 10 อัน ผลสุกสีน�้าเงิน (ภาพดอก: เขาน�้าค้าง สงขลา - PK; ภาพผลแก่: น�้าตกโตนเพชร พังงา - RP)
                    ช่อดอกมี 3-7 ดอก ออกที่ปลายกิ่งใหม่ ๆ ใบประดับยาวได้ถึง 2 ซม. ฐานดอกยาว   โคลงเคลงตัวผู้
                    0.5-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 0.5-1.3 ซม. ปลายเรียวแหลม กลีบดอก
                    รูปไข่กลับ ยาว 2.5-4 ซม. อับเรณูวงนอกยาว 0.7-1.4 ซม. รยางค์ยาว 0.4-1 ซม.   Osbeckia cochinchinensis Cogn.
                    วงในอับเรณูและรยางค์สั้นกว่า รังไข่ปลายมีขนแข็ง ผลรูปคนโท ยาวได้ถึง 1.5 ซม.   วงศ์ Melastomataceae
                    แตกอ้าเปิดออก ผลแก่เนื้อในสีม่วง                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. กิ่งเป็นเหลี่ยม แผ่นใบ ฐานดอก และผลมีขนยาว
                       พบที่อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ ไต้หวัน ญี่ปุ่น พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย   หนาแน่น ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 1-2 ซม. ก้านสั้นมากหรือเกือบไร้ก้าน โคนกลม
                    ฟิลิปปินส์ และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชาย ความสูงถึงประมาณ   เส้นโคนใบข้างละ 1-3 เส้น ดอกออกเป็นกระจุกหรือออกเดี่ยวตามซอกใบที่ปลายกิ่ง
                    2000 เมตร มีความผันแปรสูง แยกเป็น subsp. normale (D. Don) Karst. Mey.   ฐานดอกยาว 3-4 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. กลีบดอก 4 กลีบ
                    กิ่งและแผ่นใบด้านล่างมีขนยาว พบที่อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม   รูปไข่กลับ ยาวประมาณ 6 มม. เกสรเพศผู้ 8 อัน ยาวเท่าๆ กัน อับเรณูเรียวยาว
                    ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย ใบใช้ประคบแผลไฟไหม้  ประมาณ 2 มม. ไม่มีจะงอย รังไข่ปลายมีขนประปราย ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-5 มม.
                                                                        ผลรูประฆัง ยาว 4-5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เอนอ้า, สกุล)
                      เอกสารอ้างอิง
                       Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.   พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคเหนือ ขึ้นตามที่โล่ง
                          In Flora of Thailand Vol. 7(3): 438-448.      หรือทุ่งหญ้าที่ชื้นแฉะ ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Renner, S.S., G. Clausing, N. Cellinese and K. Meyer. (2001). Melastomataceae.
                                                                              In Flora of Thailand Vol. 7(3): 452.















                      โคลงเคลง: เกสรเพศผู้มี 2 ขนาด ผลรูปคนโท แตกอ้าเปิดออก เมล็ดขนาดเล็กฝังตามเนื้อผล กิ่งและแผ่นใบด้านล่าง  โคลงเคลงตัวผู้: กิ่งเป็นเหลี่ยม ดอกออกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง กลีบดอก 4 กลีบ แผ่นใบ ฐานดอก และผลมีขน
                    มีขนยาว (subsp. normale) (ภาพซ้าย: น�้าตกโตนเพชร พังงา, ภาพขวา: เชียงใหม่; - RP)  ยาวหนาแน่น (ภาพซ้าย: ภูพาน สกลนคร - PI; ภาพขวา: ชุมพร - RP)

                                                                                                                    105






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   105                                                                 3/1/16   5:16 PM
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130