Page 120 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 120
เครืออีเฒ่า
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ยาว 0.5-2 ซม. โคนมนหรือรูปหัวใจ ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ มี 1-3 ดอก
ก้านช่อและก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปลิ่มแคบหรือรูปเส้นด้าย
ยาว 5-6 มม. ดอกสีครีมอมเหลือง มีจุดสีน�้าตาลอมแดงทั่วไป หลอดกลีบดอกรูปคนโท
โค้ง ยาว 2-3 ซม. โคนป่อง กลีบรูปไข่ ยาว 7-8 มม. พับงอกลับจรดกัน ปลาย
เชื่อมติดกันคล้ายโดม มีขนยาวทั้งด้านนอกและด้านใน กะบังเรียง 2 วง วงนอก
จัก 5 พู พูแยก 2 แฉก วงในแยกเป็น 5 แฉกรูปเส้นด้าย ปลายเป็นตะขอ มีขน
ประปราย ผลยาว 4-4.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทพธาโร, สกุล)
พบที่อินเดีย ในไทยพบทางภาคตะวันออกที่มุกดาหาร อุบลราชธานี ขึ้นตาม
พื้นทรายในป่าดิบแล้งโปร่ง ๆ ที่เป็นหินทราย ความสูง 200-300 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Boonjaras, T. and O. Thaithong. (2003). Ceropegia hirsuta (Asclepiadaceae), a
new record for Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 31: 1-6.
เครือพุงหมู: ไม้เถา กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสีน�้าตาลยาว ดอกรูประฆัง เกสรเพศผู้ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก เรณู
เป็นหนามละเอียด (ภาพ: มุกดาหาร - PK)
เครืออีเฒ่า: ไม้ล้มลุกหรือไม้เถา มีหัวกลม ช่อดอกมี 1-3 ดอก หลอดกลีบรูปคนโท โค้ง โคนป่อง กลีบดอกพับงอกลับ
จรดกัน ปลายเชื่อมติดกันคล้ายโดม (ภาพ: มุกดาหาร - PK)
เครือพูเงิน: แผ่นใบมีขนแข็งเอนสีเงิน ช่อดอกออกสั้น ๆ กลีบเลี้ยงขนาดเท่า ๆ กัน ดอกรูประฆัง ด้านในสีเข้ม เคลง, สกุล
เกสรเพศผู้ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: ช่องเม็ก อุบลราชธานี - RP)
Pachycentria Blume
วงศ์ Melastomataceae
ไม้พุ่มอิงอาศัย กิ่งส่วนมากเป็นเหลี่ยมและมีริ้ว ข้อหนา ใบเรียงตรงข้าม
เส้นโคนใบ 1-3 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง
บางครั้งลดรูปมีเพียงดอกเดียว ฐานดอกรูปคนโท คอดเหนือรังไข่ กลีบเลี้ยงจัก
ตื้น ๆ 4 กลีบ หรือเรียบ กลีบดอก 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 8 อัน ส่วนมากยาวเท่า ๆ กัน
อับเรณูรูปแถบ ปลายมีรูเปิด แกนอับเรณูหนา โคนมีเดือย ปลายส่วนมากไม่มีรยางค์
รังไข่มี 4 ช่อง ยาวไม่เกินกึ่งหนึ่งของฐานดอกรูปถ้วย ไม่มีช่องพิเศษ (stamen pocket
หรือ extaovarian chamber) ผลสดมีหลายเมล็ด ปลายคอดเป็นวงกลีบเลี้ยง
เครือพูเงินขน: มีขนแข็งเอนสีเหลืองอมน�้าตาลตามล�าต้น และกลีบเลี้ยง ช่อดอกสั้น ๆ ออกตามซอกใบ เกสรเพศผู้
ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: เขาฉลองชัย ยะลา - RP) สกุล Pachycentria มีประมาณ 8 ชนิด พบในเอเชีย โดยเฉพาะภูมิภาคมาเลเซีย
ในไทยมี 3 ชนิด คล้ายกับสกุล Medinilla ฐานดอกไม่คอดเหนือรังไข่ รังไข่ยาว
และมีช่องพิเศษ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “pachys” หนา และ “kentron”
เดือย ตามลักษณะของอับเรณู
เคลงกนก
Pachycentria varingaefolia (Blume) Blume
ชื่อพ้อง Melastoma varingiaefolium Blume, Medinilla varingiifolia (Blume) Nayar
ไม้พุ่มอิงอาศัย สูงได้ถึง 4 ม. ใบรูปไข่หรือรูปใบหอก ยาว 5-10 ซม. เส้นโคนใบ
ข้างละ 1 เส้น แผ่นใบข้างหนา ด้านบนมีรอยย่น ด้านล่างสีม่วงอมแดง ก้านใบยาว
เครือพูทอง: แผ่นใบด้านล่างมีนวล มีขนยาวสีน�้าตาลทองหนาแน่นตามช่อดอก ใบประดับ และกลีบเลี้ยง ดอกรูป 1-1.7 ซม. ช่อดอกออกตามปลายกิ่ง ยาว 2-6 ซม. ก้านช่อยาว 1-3 ซม. แต่ละช่อ
ดอกเข็ม แฉกลึก เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: โขงเจียม อุบลราชธานี - PK)
มี 2-7 ดอก ใบประดับรูปใบหอก ยาว 1-3 มม. ฐานรองดอกยาว 4-8 มม. กลีบเลี้ยง
เครืออีเฒ่า ขอบสูงประมาณ 1-1.5 มม. จักตื้น ๆ ดอกสีชมพูเปลี่ยนเป็นสีขาว กลีบรูปไข่
Ceropegia hirsuta Wight & Arn. หรือรูปรี ยาว 1.2-1.8 ซม. ปลายแหลม โคนตัด เกสรเพศผู้ 8 อัน ยาวไม่เท่ากัน
วงศ์ Apocynaceae ปลายมีจะงอยยาว โคนมีเดือยสั้น ๆ อับเรณูวงนอกยาว 0.6-1 ซม. วงในยาว 5-7 มม.
ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่าเกสรเพศผู้ ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 6-8 มม.
ไม้ล้มลุกหรือไม้เถา หัวใต้ดินกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2.5 ซม. มีขน สุกสีแดง ขอบกลีบเลี้ยงสูง 4-5 มม.
สั้นนุ่มตามล�าต้น แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านช่อ ก้านดอก กลีบเลี้ยงและกลีบดอก พบที่คาบสมุทรมลายู และทางภาคใต้ของไทยที่เขาหลวงและเขานัน จังหวัด
ด้านนอก และกะบัง ส่วนต่าง ๆ มียางใส ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-6.5 ซม. ก้านใบ นครศรีธรรมราช ขึ้นตามป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร
100
59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd 100 3/1/16 5:16 PM