Page 115 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 115

เอกสารอ้างอิง                                                 สารานุกรมพืชในประเทศไทย  เคราฤๅษี
                        Chen, T. and C.M. Taylor. (2011). Rubiaceae (Gardenia). In Flora of China Vol.
                           19: 143.
                        Puff, C., K. Chayamarit and V. Chamchumroon. (2005). Rubiaceae of Thailand.
                           Forest Herbarium. Bangkok.




















                       ค�ามอกหลวง: ใบเรียงตรงข้าม ดอกสีเหลืองหรือขาว เกสรเพศผู้ติดใต้ปากหลอดกลีบดอกระหว่างกลีบดอก
                     เกสรเพศเมียยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ยอดเกสรรูปกระบอง ผลมี 5-6 สัน (ภาพ: ภูหลวง เลย - PK)


                                                                           ค�าแสด: ช่อดอกแบบช่อกระจะหลายช่อตามปลายกิ่ง ดอกเพศผู้สีเขียว ดอกเพศเมียสีเหลืองหรือแดง ยอดเกสรเพศเมีย
                                                                          ติดทน (ภาพช่อดอกเพศผู้: ประจวบคีรีขันธ์ - RP; ภาพช่อดอกเพศเมีย: ยะลา - VC; ภาพผล: หนองคาย - PK)
                                                                          เคราฤาษี
                                                                          Strophanthus preussii Engl. & Pax
                                                                          วงศ์ Apocynaceae
                                                                            ไม้พุ่มรอเลื้อย ยาวได้ถึง 10 ม. กิ่งมีช่องอากาศ มียางใสหรือขาว ใบเรียงตรงข้าม
                                                                          รูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-19 ซม. ก้านใบยาว 0.2-1.4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                                                                          ออกสั้น ๆ ตามปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 0.4-2.5 ซม. ใบประดับติดทน กลีบเลี้ยง
                                                                          5 กลีบ ยาว 0.5-2.5 ซม. โคนด้านในมีต่อม ดอกสีขาวเปลียนเป็นสีครีมอมเหลือง
                                                                          มี 5 กลีบ เรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบดอกยาว 1.2-2.5 ซม. สีขาว
                                                                          มีริ้วสีม่วงอมน�้าตาล ด้านในสีเข้ม รูปไข่ ยาว 0.4-1.2 ซม. ปลายกลีบบิดเป็นเกลียว
                       พุดซ้อน: กลีบเลี้ยงหนาเป็นสัน มีทั้งที่มีกลีบดอกชั้นเดียวและดอกซ้อน (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: cultivated - RP);   ยาว 12-20 ซม. สีน�้าตาลแดง กะบังมี 10 พู สีน�้าตาลอมส้ม เกสรเพศผู้ 5 อัน
                     พุดน�้าบุษย์: หลอดกลีบดอกยาว (ภาพขวาล่าง: cultivated - RP)
                                                                          ติดภายในหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น โคนอับเรณูเป็นเงี่ยง แนบติดปลาย
                     คำาแสด                                               เกสรเพศเมีย มี 2 คาร์เพล บางส่วนติดกันที่โคน ยอดเกสรเพศเมียจัก 10 พู ผลเป็น
                     Mallotus philippensis (Lam.) Müll. Arg.              ฝักคู่กางออก รูปทรงกระบอก ปลายโค้ง ยาว 15-30 ซม. มีขนและช่องอากาศ
                                                                          เมล็ดจ�านวนมาก ขนกระจุก ยาว 6-10 ซม.
                     วงศ์ Euphorbiaceae
                       ชื่อพ้อง Croton philippensis Lam.                    มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกาตะวันตก เป็นไม้ประดับ เมล็ดมีพิษ ใช้อาบหัวลูกศร
                        ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. หูใบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 0.5-1.3 ซม.   สกุล Strophanthus DC. มี 38 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ และเอเชีย
                     ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-22 ซม. ปลายเรียวแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนกลม   ในไทยมีพืชพื้นเมือง 3 ชนิด เป็นไม้ประดับ 2 ชนิด อีกชนิดคือ แย้มปีนัง
                     ก้านใบยาว 1.5-5 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนและต่อมเกล็ดหนาแน่น เส้นโคนใบ  S. gratus (Wall. & Hook.) Baill. ปลายกลีบดอกไม่บิดเป็นเกลียว มีถิ่นกำาเนิด
                     ข้างละ 1 เส้น ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ หรือหลายช่อตามปลายกิ่ง ยาวได้ถึง   ในแอฟริกาเช่นเดียวกัน ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “strophe” บิดเวียน และ
                     20 ซม. ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้สีเขียว เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม. กลีบเลี้ยง   “anthos” ดอก ตามลักษณะปลายกลีบดอกที่บิดเวียนในหลายชนิด
                     2-4 กลีบ เกสรเพศผู้ 15-20 อัน ดอกเพศเมียสีเหลืองหรือแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง
                     ประมาณ 4 มม. กลีบเลี้ยง 3-6 กลีบ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสร 3 อัน ยาว   เอกสารอ้างอิง
                                                                            Burkill, H.M. (1985). The useful plants of west tropical Africa. Vol. 1: 183.
                     3-5 มม. ติดทน มีขนยาวนุ่ม ผลรูปรีกว้าง จักเป็นพู ยาว 0.8-1.2 ซม. มีต่อมและ  Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 97.
                     ขนสีน�้าตาลแดงกระจาย มี 1-3 เมล็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตองเต้า, สกุล)
                        พบที่ศรีลังกา อินเดีย จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
                     ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
                     ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา หรือตามชายฝั่งทะเล ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
                     ผลใช้ท�าเป็นสีย้อมให้สีแดงเรียกว่า kamela dye ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณด้าน
                     สมุนไพรหลายอย่าง
                       เอกสารอ้างอิง
                        Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Mallotus). In Flora of China
                           Vol. 11: 229.
                        van Welzen, P.C., S.E.C. Sierra, J.W.F. Silk and S. Bollendroff. (2007). Euphor-  เคราฤๅษี: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ปลายกลีบดอกบิดเป็นเกลียวยาว กะบังสีน�้าตาลอมส้ม (ภาพซ้าย: cultivated - RP);
                           biaceae (Mallotus). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 421-423.  แย้มปีนัง: ปลายกลีบดอกไม่บิดเป็นเกลียว (ภาพขวา: cultivated - RP)

                                                                                                                       95






         59-02-089_001-112 Ency_new5-3 i_Coated.indd   95                                                                  3/5/16   4:52 PM
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120