Page 124 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 124

แคแสด
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือตอนล่างที่นครสวรรค์   ด้านนอกมีต่อมกระจาย เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน ฝักรูปแถบ ยาว 30-70 ซม.
                ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่ีขอนแก่น และภาคกลางที่สระบุรี ขึ้นบนเขาหินปูนเตี้ย ๆ   มีขนประปราย ขนปุย หรือมีตุ่มกระจาย ผนังกั้นรูปกากบาท เมล็ดกว้างประมาณ
                ความสูง 50-100 เมตร                                  1 ซม. ยาวประมาณ 3-5 ซม. รวมปีก

                  เอกสารอ้างอิง                                        พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายแทบทุกภาค จนถึง
                   Brummitt, R.K. (1992). Santisukia, a new generic name in Bignoniaceae. Kew   ภาคใต้ตอนบน ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าเบญจพรรณ ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                      Bulletin 47: 436.                              บางครั้งแยกเป็น var. kerrii Sprague และ var. pierrei (Dop) Santisuk ตามสิ่ง
                   Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae (Barnettia). In Flora of Thailand Vol. 5(1): 57-60.  ปกคลุมบนกลีบเลี้ยง ฝัก และสีกลีบดอก


                                                                       สกุล Markhamia Seem. ex Baill. มีประมาณ 10 ชนิด ส่วนมากพบในแอฟริกา
                                                                       ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ Clements
                                                                       Robert Markham (1830-1916)
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 48-52.
                                                                       Zhang, Z.Y. and T. Santisuk. (1998). Bignoniaceae. In Flora of China Vol. 18: 224.


                  แคสันติสุข: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบดอกบานออกรูประฆังกว้าง ฝักรูปขอบขนานสั้น ๆ มีต่อม
                ประปราย (ภาพ: ถ�้าเพชรถ�้าทอง นครสวรรค์ - RP)
                แคแสด
                Spathodea campanulata P. Beauv.
                วงศ์ Bignoniaceae
                   ไม้ต้น สูง 10-25 ม. มีหูใบเทียม ใบประกอบชั้นเดียว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก
                ยาว 30-40 ซม. มีใบย่อย 4-8 คู่ รูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว 5-15 ซม. โคนเบี้ยว
                มักมีต่อม 1 คู่ ก้านใบย่อยสั้นมากเกือบไร้ก้าน ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง
                ออกที่ปลายกิ่ง ดอกสีส้ม ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงเป็นกาบ ยาว 4-6 ซม. เป็นสัน
                ปลายมีจะงอย มีขนละเอียด ดอกรูประฆังกว้าง หลอดกลีบดอกยาว 8-12 ซม.
                ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ตื้น ๆ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ขอบกลีบเป็นคลื่น เกสรเพศผู้
                4 อัน รังไข่มี 2 ช่อง ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู ผลแห้งแตก รูปขอบขนาน ยาว
                10-25 ซม. ปลายแหลม ผิวมีสัน แตกออกด้านเดียวรูปเรือ เมล็ดจ�านวนมาก มี
                ปีกบางล้อมรอบ

                   มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกาเขตร้อน เป็นไม้ประดับทั่วไปในเขตร้อน กิ่ง ใบ และดอก
                ใช้ถอนพิษ ขับลม แก้ไข้                                แคหัวหมู: ช่อดอกคล้ายช่อกระจะ กลีบเลี้ยงเป็นกาบ ต้นดอกสีหลืองครีม ฝักมีขนปุย ต้นดอกสีน�้าตาลแดง ฝักมี
                                                                     ปุ่มหนาแน่น (var. pierrei) (ภาพบน: มวกเหล็ก สระบุรี, ภาพล่าง: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ; - RP)
                   สกุล Spathodea P. Beauv. มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “spathe” กาบ
                หมายถึงกลีบเลี้ยงคล้ายกาบ                            โคกกระออม
                                                                     Cardiospermum halicacabum L.
                  เอกสารอ้างอิง
                   Santisuk, T. (1987). Bignoniaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 64.  วงศ์ Sapindaceae
                                                                       ไม้เถาล้มลุก แยกเพศร่วมต้น ใบประกอบมี 3 ใบย่อย 2 ชั้น เรียงเวียน ยาว
                                                                     ได้ถึง 20 ซม. ก้านยาวได้ถึง 5 ซม. ใบประกอบย่อยยาว 5-6 ซม. ก้านยาว 1-2 ซม.
                                                                     ใบย่อยรูปไข่ จักเป็นพู ยาว 3-4 ซม. ก้านยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกคล้ายช่อ
                                                                     กระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาว 5-14 ซม. ช่อย่อยลดรูปเป็นมือเกาะ ก้านดอก
                                                                     ยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ติดทน คู่นอกยาว 1-1.5 มม. คู่ในยาวกว่า
                                                                     เล็กน้อย ดอกสีขาวสมมาตรด้านข้าง กลีบดอก 4 กลีบ รูปไข่กลับกว้าง ยาว 2-3 มม.
                                                                     2 กลีบมีเกล็ดขนขนาดใหญ่ด้านใน ปลายเป็นสันนูนสีเหลือง จานฐานดอกคล้าย
                  แคแสด: ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงเป็นกาบ เป็นสัน ปลายมีจะงอย  ต่อม 2 ต่อม ติดตรงข้ามรังไข่ เกสรเพศผู้ 8 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น มีขน อับเรณู
                กลีบดอกรูประฆังกว้าง ขอบกลีบเป็นคลื่น (ภาพ: cultivated - SSi)  สีเหลือง รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรจัก
                แคหัวหมู                                             3 พู ผลแห้งแตก มี 3 พู ผนังบาง เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 ซม. มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดกลม
                Markhamia stipulata (Wall.) Seem. ex K. Schum.       สีด�า เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม. ขั้วเมล็ดสีขาว
                วงศ์ Bignoniaceae                                      มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาเขตร้อน เป็นวัชพืช ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร
                  ชื่อพ้อง Spathodea stipulata Wall.                 รากมีสรรพคุณขับปัสสาวะ ลดไข้ และเป็นยาระบาย
                   ไม้ต้น สูง 5-15 ม. มีหูใบเทียม ใบประกอบชั้นเดียว เรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก   สกุล Cardiospermum L. มี 12 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกา ชื่อสกุลมาจากภาษา
                ยาวได้ถึง 55 ซม. ใบย่อยมี 4-8 คู่ รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 8-25 ซม. ก้านใบสั้น   กรีก “cardio” กับ “spermus” หมายถึงเมล็ดรูปหัวใจ ส่วนคำาระบุชนิดเป็นภาษา
                ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง ยาว   กรีกโบราณ “halikakabon” ที่ใช้เรียกพืชสกุลโทงเทง Physalis ที่ผลคล้ายกัน
                15-35 ซม. มีได้ถึง 10 ดอก ก้านดอกยาว 2-6 ซม. กลีบเลี้ยงเป็นกาบคล้ายเรือ
                ยาว 3.3-5.5 ซม. มีขนปุย ดอกรูปแตร สีเหลืองครีมหรืออมแดง ยาวได้ถึง 4.5 ซม.   เอกสารอ้างอิง
                                                                       van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 189-191.
                โคนหลอดกลีบรูปทรงกระบอก ยาว 2-2.6 ซม. กลีบรูปรีกว้าง ยาวได้ถึง 4.5 ซม.   Xia, N. and P.A. Gadek. (2007) Sapindaceae. In Flora of China Vol. 12: 24.


                104






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   104                                                                 3/1/16   5:16 PM
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129