Page 127 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 127

ไคร้น้ำา                                            ไคร้ย้อย   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ไคร้หางนาค
                    Homonoia riparia Lour.                              Elaeocarpus grandiflorus Sm.
                    วงศ์ Euphorbiaceae                                     ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. ใบรูปไข่กลับหรือรูปใบหอก ยาว 7-19 ซม. แผ่นใบ
                       ไม้พุ่ม แตกกิ่งหนาแน่น สูงได้ถึง 7 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบ 2 อัน เรียวแคบ ยาว   ด้านล่างมีขนหรือเกลี้ยง ก้านใบยาว 0.5-4 ซม. ช่อดอกห้อยลง ยาว 6-10 ซม.
                    5-8 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 3.5-20 ซม. ขอบเรียบ  ใบประดับคล้ายใบ ก้านดอกยาวได้ถึง 3 ซม. ขยายในผล กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว
                    หรือจักฟันเลื่อย ขอบจักมีต่อมด้านล่าง แผ่นใบด้านล่างมีนวลและปุ่มเล็ก ๆ   1-1.5 ซม. กลีบดอกรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 ซม. มีขนกระจายทั้งสองด้าน มีริ้วขน
                    กระจาย ก้านใบยาว 0.4-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ   ที่โคนกลีบด้านใน 2 แถบ ยาวประมาณ 6 มม. ชายครุยยาวประมาณ 3 มม.
                                                                        เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 ซม. แกนอับเรณูปลายเป็นรยางค์แข็ง จานฐานดอก
                    ยาว 7-10 ซม. ดอกไร้ก้าน ไม่มีกลีบดอก ดอกเพศผู้ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไข่ ยาว   จักตื้น ๆ 10 พู รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ผลรูปรี ยาว 3-4 ซม. ปลายและโคนแหลม
                    3-4 มม. เกสรเพศผู้เชื่อมติดกัน 3-6 มม. แยกแขนง 2 ทาง สั้น ๆ อับเรณูจ�านวนมาก
                    ไม่มีเกสรเพศเมียที่เป็นหมัน ดอกเพศเมีย กลีบเลี้ยง 5-6 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม   พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบ
                    รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาว 1-2 มม. รังไข่มีขนละเอียด ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก   ทุกภาค ขึ้นตามริมน�้าในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร เป็น
                    ยอดเกสรแยก 3 แฉก ยาวได้ถึง 4 มม. ติดทน ผลแยกแล้วแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง   ไม้ประดับ ส่วนต่าง ๆ มีพิษ น�้าสกัดจากผลและเมล็ดเป็นยาขับปัสสาวะ
                    3-4 ซม. มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดยาวประมาณ 2 มม. มีเยื่อหุ้มสีแดง
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                       พบที่อินเดีย จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี ในไทยพบทุกภาค   Phengklai, C. (1981). Elaeocarpaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 427-430.
                    ขึ้นตามโขดหินริมแม่น�้า หรือชายฝั่งทะเลที่น�้าท่วมถึง เป็นพืชทนน�้าท่วม เปลือกเหนียว
                    ใช้แทนเชือกได้ ใบ กิ่ง และผล แก้โรคผิวหนัง ผดผื่นคัน ในเวียดนามใบใช้เลี้ยงสัตว์
                       สกุล Homonoia Lour. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Acalyphoideae มี 3 ชนิด อีก 2 ชนิด
                       พบเฉพาะที่อินเดีย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “homos” คล้องจองกัน เป็นหนึ่ง
                       เดียวกัน และ “nous” จิตใจ หมายถึงลักษณะเกสรเพศผู้จำานวนมากที่เรียงแยก
                       แขนงไปมาสอดคล้องกัน
                      เอกสารอ้างอิง
                       Qiu, H. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Homonoia). In Flora of China
                          Vol. 11: 247-248.
                                                                          ไคร้ย้อย: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ห้อยลง ใบประดับคล้ายใบ ขอบกลีบดอกจักชายครุย ปลายแกนอับเรณูเป็น
                       van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Homonoia). In Flora of Thailand Vol.   รยางค์แข็ง ผลปลายและโคนแหลม (ภาพ: เบตง ยะลา; ภาพดอก - RP, ภาพผล: - MP)
                          8(2): 336-338.
                                                                        ไคร้หางนาค
                                                                        Rotula aquatica Lour.
                                                                        วงศ์ Boraginaceae
                                                                           ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. กิ่งมีริ้ว ใบเรียงเวียนชิดกันที่ปลายกิ่ง เรียงห่าง ๆ ช่วง
                                                                        โคนกิ่ง รูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 0.5-3 ซม. ปลายมน ปลายมีติ่งแหลม
                                                                        แผ่นใบหนา ขอบเรียบหรือจักซี่ฟัน มีขนแข็งเอนประปราย ก้านใบยาว 0.5-4 มม.
                                                                        ช่อแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมในตาดอก
                                                                        กลีบรูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 4-5 มม. ปลายแหลมยาว ติดทน ด้านนอกมีขน
                                                                        ดอกสีชมพู หลอดกลีบดอกสั้น มี 5 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 6-7 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน
                                                                        ติดภายในหลอดกลีบดอก อับเรณูหันเข้า ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก รังไข่มี 4 ช่อง
                                                                        แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู รูปคล้ายโล่ ผลผนังชั้นในแข็ง
                                                                        รูปกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม. สุกสีแดงเป็นมันวาว มี 4 ไพรีน
                                                                           พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ในไทย
                                                                        พบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันออก และตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามโขดหิน
                                                                        ริมล�าธารในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง 50-300 เมตร มีสรรพคุณใช้รักษานิ่ว
                                                                        แก้ไอ โรคหัวใจ และโรคทางประสาท
                      ไคร้น�้า: ไม้พุ่มแตกกิ่งต�่าหนาแน่น ขึ้นเป็นกลุ่มตามโขดหินริมแม่น�้า ดอกแยกเพศต่างต้น ช่อดอกแบบช่อเชิงลด
                    อับเรณูจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ติดทน (ภาพ: แม่น�้าเมย ตาก - RP)
                                                                           สกุล Rotula Lour. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Ehretiaceae มี 3 ชนิด พบในอเมริกาใต้
                    ไคร้ย้อย, สกุล                                         แอฟริกา และเอเชียเขตร้อน ในไทยมีเพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน
                    Elaeocarpus L.                                         หมายถึงกงล้อขนาดเล็กตามลักษณะดอก
                    วงศ์ Elaeocarpaceae                                   เอกสารอ้างอิง
                                                                           Zhu, G., H. Riedl and R.V. Kamelin. (1995). Boraginaceae. In Flora of China
                       ไม้ต้น หูใบร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหรือเกือบตรงข้าม ขอบใบจักฟันเลื่อยหรือจักมน   Vol. 16: 337.
                    ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกหรือเชื่อมติดกัน
                    ที่โคน กลีบดอก 5 กลีบ แยกกัน ขอบจักชายครุย เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ติดบน
                    จานฐานดอก อับเรณูติดที่โคน รูปแถบ แตกตามรูเปิดที่ปลาย ปลายแกนอับเรณู
                    มักมีขนแข็งหรือกระจุกขน รังไข่มี 2-7 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสร
                    แหลม ผลผนังชั้นในแข็ง ผิวเป็นรูพรุน
                       สกุล Elaeocarpus มีประมาณ 350 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเอเชียเขตร้อน ในไทย
                       มี 17 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “elaia” มะกอก และ “karpos” ผล หมายถึง  ไคร้หางนาค: ใบเรียงเวียนชิดกันที่ปลายกิ่ง ช่อแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง ผลสุกสีแดงเป็นมันวาว กลีบเลี้ยง
                       ลักษณะผลคล้ายผลมะกอก Olea europaea L.            ติดทน (ภาพ: น�้าตกคลองแก้ว ตราด - PK)


                                                                                                                    107






        59-02-089_001-112 Ency_new1-3_J-Coated.indd   107                                                                 3/1/16   5:17 PM
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132